ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยMayuree Niratpattanasai ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
หน่วยที่ 2 โครงสร้างโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์
นำเสนอครั้งที่ 2 หน่วยที่ 2 โครงสร้างโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ 2.1 สัญญาณและระบบเลขฐาน จัดทำโดย สุพล จริน ห้องปฏิบัติการควบคุม CONTROL LAB EL06 แผนกวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง วิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่
2
สัญญาณและระบบเลขฐาน การปฏิบัติการบูลีนจะรับรู้สถานะของตัวแปรเพียงสองสถานะเท่านั้น เช่น การควบคุมไฟฟ้าสามารถที่จะควบคุมให้ปิด (OFF) หรือเปิด (ON) สัญญาณที่มีการเปลี่ยนแปลงได้เพียงสองสถานะ คือ “0” หรือ “1” เรียกสัญญาณ Binary และระบบปฏิบัติการของ PLC จะใชระบบตัวเลขฐาน 2 และสามารถประยุกต์เป็นระบบเลขฐาน 8 และระบบเลขฐาน 16 ซึ่งตัวแปรสามารถกำหนดให้มีเพียงสองค่าเท่านั้น คือ “0” หรือ “1” และจะนำตัวแปรมาพิจรณาในลักษณะทางคณิตศาสตร์ พีชคณิตบูลีน (Boolean algebra) จุดประสงค์ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของสัญญาณและระบบเลขฐาน สมการบูลีน และการลดรูปสมการ
3
สัญญาณที่มีสถานะแตกต่างกันได้ 2 สถานะ
สัญญาณ Binary สัญญาณที่มีสถานะแตกต่างกันได้ 2 สถานะ OFF ON 0 V V 1 Bar Bar
4
การกำเนิดสัญญาณ Binary
1 =
5
ย่านของแรงดันไฟฟ้า IEC1131-2 -3 5 11 30 1 - Range 0 - Range
6
~ วงจรไฟฟ้า S1 = Binary input S1 ไม่กด S1 = 0 กด S1 = 1 H1
H1 = Binary output ไฟดับ H1 = 0 ไฟติด H1 = 1
7
~ วงจรไฟฟ้า S1 = Binary input S1 ไม่กด S1 = 0 กด S1 = 1 H1
H1 = Binary output ไฟดับ H1 = 0 ไฟติด H1 = 1
8
สัญญาณ Digital = กลุ่มสัญาณ Binary
จำนวนรหัส 23 22 21 20 จำนวนรหัส 23 22 21 20 8 1 1 1 9 1 2 1 10 1 3 1 1 11 4 1 12 1 5 1 13 1 6 1 14 1 7 1 15 1
9
ระบบเลขฐาน เลขฐาน 2 = = 1 Bit เลขฐาน 8 = = 1 Byte เลขฐาน 10 = เลขฐาน 16 = ABCDEF = 1Word
10
การเปลี่ยนระบบเลขฐาน การเปลี่ยนเลขฐาน 2 เป็นเลขฐาน 10
Bit NO. ตัวอย่างที่ 1 ตัวอย่างที่ 2 ตัวอย่างที่ 3 Digital value 1 2 3 4 5 6 7 187 51
11
การเปลี่ยนระบบเลขฐาน การเปลี่ยนเลขฐาน 10 เป็นเลขฐาน 2
Bit NO. 7 6 5 4 3 2 1 Digital value 1 131 ตัวอย่างที่ 1 ตัวอย่างที่ 2 1 71 9 ตัวอย่างที่ 3 1
12
C 9 การเปลี่ยนระบบเลขฐาน
เลขฐาน 2 ขนาด 4 Bit = เลขฐาน 10 หรือฐาน 16 จำนวน 1 หลัก C 9
13
C 9 1 1 การเปลี่ยนระบบเลขฐาน
เลขฐาน 2 ขนาด 4 Bit = เลขฐาน 10 หรือฐาน 16 จำนวน 1 หลัก C 9 1 1
14
ให้ Input 3/4 ทำให้หลอดไฟ H1 ติด = 1
จำนวนรหัส 23 20 21 22 8 9 10 11 12 13 14 15 1 H1 จำนวนรหัส 23 22 21 20 H1 1 1 2 1 3 1 1 4 1 5 1 1 6 1 1 7 1 1
15
DNF = Disjunction Normal Form
วงจรไฟฟ้า DNF = Disjunction Normal Form S1 S2 S3 S4 H1 สมการ Boolean H1 = V(S1.S2.S3.S4) V(S1.S2.S3.S4)
16
DNF = Disjunction Normal Form
วงจรไฟฟ้า DNF = Disjunction Normal Form สมการ Boolean H1 = V(S1.S2.S3.S4) V(S1.S2.S3.S4) S1 S2 S3 S4 H1
17
DNF = Disjunction Normal Form
วงจรไฟฟ้า DNF = Disjunction Normal Form H1 S1 ลดรูปสมการโดย Computing rule S2 S3 S4
18
DNF = Disjunction Normal Form
วงจรไฟฟ้า DNF = Disjunction Normal Form H1 S1 ลดรูปสมการโดย Computing rule S2 S3 S4
19
Binary signal : Signal state
Voltage present +24v 1 Signal state “1” Voltage not present 0v Signal state “0” Lamp “ON” Lamp “OFF” Output module Input module
20
THE END
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.