ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การจัดทำคำอธิบายรายวิชา
โสภณ จุโลทก ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีวิรุณบริหารธุรกิจ (VBAC) หัวหน้านักวิจัยภาคเหนือ มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้
2
คำอธิบายรายวิชา (Course Description)
หมายถึง ขอบเขตของ “สาระการเรียนรู้” และ “ตัวชี้วัด” หรือ “ผลการเรียนรู้” (รายวิชา พต.) เรียบเรียงอย่างเป็นระบบ นำเสนอภาพรวมของรายวิชา (พฐ. และ พต.) เป็นภาพกว้างตลอดปี (ประถมศึกษา) หรือตลอดภาค (มัธยมศึกษา)
3
ขั้นตอนการจัดทำ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
4
ขั้นตอนการจัดทำ : ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ศึกษาตัวชี้วัดชั้นปีทุกตัว จัดกลุ่มตัวชี้วัด ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 เขียนตัวชี้วัดลงในตารางฯ เขียนสาระการเรียนรู้แกนกลางลงในตารางฯ
5
ขั้นตอนการจัดทำ : ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
5. เขียนสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นลงในตาราง ระดับ สพม./สพป. ระดับโรงเรียน 6. นำรายละเอียดทั้งหมดเขียนคำอธิบายรายวิชา แบบรวมสาระ แบบแยกสาระ 7. สรุปจำนวนตัวชี้วัด พร้อมกับระบุรหัสตัวชี้วัดแต่ละตัว
6
ขั้นตอนการจัดทำ : ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ศึกษา “ตัวชี้วัดช่วงชั้น” ทุกตัว “จัดวาง” ตัวชี้วัดลงในชั้น ม.4, ม.5 และ ม. 6 จัดกลุ่มตัวชี้วัด ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 เขียนตัวชี้วัดลงในตารางฯ เขียนสาระการเรียนรู้แกนกลางลงในตารางฯ
7
ขั้นตอนการจัดทำ : ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
6. เขียนสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นลงในตาราง ระดับ สพม. ระดับโรงเรียน 7. นำรายละเอียดทั้งหมดเขียนคำอธิบายรายวิชา แบบรวมสาระ แบบแยกสาระ 8. สรุปจำนวนตัวชี้วัด และระบุรหัสตัวชี้วัดแต่ละตัว
8
ขั้นตอนการจัดทำ : สำหรับรายวิชาเพิ่มเติม
เขียนสาระการเรียนรู้ที่ต้องการเพิ่มเติมลงในตาราง กำหนด “ผลการเรียนรู้” นำรายละเอียดตามข้อ 1 และ 2 มาเขียนคำอธิบายรายวิชา สรุปจำนวนผลการเรียนรู้และระบุผลการเรียนรู้แต่ละตัว
9
? สงสัย เราตอบ ท่านถาม
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.