ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยRangsiman Visalyaputra ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
ความร่วมมือไทย-ลาว ในเรื่อง Contract Farming (CF)
2
1. ท่าทีรัฐบาลไทย สนับสนุนและส่งเสริม CF
การลงนาม MOU ไทย-ลาว ในเรื่อง CF - ยืนยันตลาดรับซื้อในประเทศไทย - ยกเว้นภาษีศุลกากรนำเข้า ภายใต้กรอบ AFTA และAISP - หารือและทบทวนรายการสินค้ายกเว้นภาษี - หารือปริมาณสินค้ารับซื้อ ราคา การขนส่ง และการจ่ายเงิน - มีกลไกประสานงานสองฝ่าย โดยกระทรวงพาณิชย์ของไทย และกระทรวงการค้า ต่างประเทศลาวเป็นหน่วยประสานงานหลัก - มีการหารือทบทวนแผนและผลอย่างสม่ำเสมอ - ฝ่ายไทยแจ้งเกี่ยวกับแผนการผลิต/รายละเอียด (ชนิดของพืช/สัตว์ ขนาดและตำแหน่ง ของที่ดิน)
3
1. ท่าทีรัฐบาลไทย - ภาครัฐสองฝ่ายช่วยจับคู่ธุรกิจ
- ภาครัฐสองฝ่ายให้ข้อมูลเกี่ยวกับ CF แก่เอกชน - ภาครัฐสองฝ่ายอำนวยความสะดวกการผ่านแดนของบุคลากร - ฝ่ายลาวจัดหาแปลงทดลองก่อนทำจริง - ฝ่ายลาวอำนวยความสะดวกการนำเข้าเมล็ดพันธุ์ อุปกรณ์ ปุ๋ย โดยยกเว้นภาษีอากร - ฝ่ายลาวอำนวยความสะดวกยกเว้นภาษีอากรขาออก - ฝ่ายลาวในระดับท้องถิ่นออก C/O ให้ - สองฝ่ายดูแลมาตรฐานสินค้าเกษตร/อำนวยความสะดวกส่งออก/นำเข้า โดยจัดตั้ง One Stop Service - การถ่ายทอดเทคโนโลยีให้แก่ลาว
4
2. ประเด็นสำคัญสำหรับการลงทุน Contract Farming ในลาว
พืชและสัตว์ที่จะลงทุน ผู้ลงทุน เกษตรกรลาว นโยบายรัฐบาล สร้างความไว้เนื้อเชื่อใจการยอมรับของฝ่ายลาว กลไกกำกับให้ดำเนินการตามสัญญา การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพของผู้ลงทุน
5
2. ประเด็นสำคัญสำหรับการลงทุน Contract Farming ในลาว
ความเข้าใจรอบด้านเกี่ยวกับพืชที่ส่งเสริมการปลูก สัมปทานที่ดิน การประสานกับเกษตรกรอย่างทั่วถึง จังหวัดนำร่องมีจำกัด
6
3. ความต้องการของฝ่ายลาว
หลายแขวงยินดีที่จะมีความร่วมมือ CF ขอให้กระบวนการผลิตครบวงจร มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตทุกขั้นตอน ให้ความรู้แก่เกษตรกรลาวเกี่ยวกับ CF ขอให้ใช้แรงงานลาว ให้บริหารการผลิตให้สมดุลกับปริมาณสินค้าในตลาด ขอโควต้านำเข้าสินค้าเกษตรของไทยตรงกับระยะเวลาเก็บเกี่ยวผลผลิตของลาว
7
4. ความต้องการของผู้ประกอบการไทย
ให้ภาครัฐผลักดันให้คู่สัญญาฝ่ายลาวเร่งดำเนินโครงการตามสัญญาที่ได้ลงนามร่วมกัน ให้ภาครัฐแนะนำข้อมูล แนะช่องทางการติดต่อที่ถูกต้อง ให้ภาครัฐผลักดันให้เอกชนสามารถเข้าไปสำรวจพื้นที่ ให้ภาครัฐช่วยเจรจากับฝ่ายลาว ให้อนุมัติสัมปทานที่ดินขนาดใหญ่ที่เคยรับว่าให้ หลังจากมีการทอดลองปลูกไปแล้ว
8
5. สรุป ภาครัฐสองฝ่ายต้องสร้างความเชื่อมั่นแก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
ส่งเสริมการทำ CF ในลักษณะที่กว้างขวางขึ้น ให้มีการอบรมเทคนิคการเกษตรอย่างต่อเนื่อง ให้มีความช่วยเหลือด้านสินเชื่อจากธนาคาร ส่งเสริมและอำนวยความสะดวก และลดเวลาที่จะใช้ในกระบวนการตรวจปล่อยสินค้าที่ด่าน ศึกษาพื้นที่และสภาพแวดล้อมจริง ควรมีการจัดทำร่างตัวอย่างสัญญาของฝ่ายไทยในลักษณะกว้างๆ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.