งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ชี้แนวทางการดำรงชีวิต ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระ ราชดำรัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต่ปี พ. ศ. 2517 เป็นต้นมา.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ชี้แนวทางการดำรงชีวิต ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระ ราชดำรัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต่ปี พ. ศ. 2517 เป็นต้นมา."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ชี้แนวทางการดำรงชีวิต ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระ ราชดำรัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต่ปี พ. ศ. 2517 เป็นต้นมา [1][2] และถูกพูดถึงอย่างชัดเจนในวันที่ 4 ธันวาคม พ. ศ. 2540 เพื่อเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศไทย ให้สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนในกระแสโลกาภิ วัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ [3]ปรัชญาพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พ. ศ. 2517 [1][2]ปัญหาเศรษฐกิจของประเทศไทยโลกาภิ วัตน์ [3] เศรษฐกิจพอเพียงมีบทบาทต่อการกำหนดอุดมการณ์การ พัฒนาของประเทศ โดยปัญญาชนในสังคมไทยหลายท่าน ได้ร่วมแสดงความคิดเห็น อย่างเช่น ศ. นพ. ประเวศ วะสี, ศ. เสน่ห์ จามริก, ศ. อภิชัย พันธเสน, และศ. ฉัตรทิพย์ นาถสุภา โดยเชื่อมโยงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับวัฒนธรรม ชุมชน ซึ่งเคยถูกเสนอมาก่อนหน้าโดยองค์กรพัฒนาเอกชน จำนวนหนึ่งนับตั้งแต่พุทธทศวรรษ 2520 และได้ช่วยให้ แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางใน สังคมไทย ศ. นพ. ประเวศ วะสี ศ. เสน่ห์ จามริก ศ. อภิชัย พันธเสนศ. ฉัตรทิพย์ นาถสุภาวัฒนธรรม ชุมชนองค์กรพัฒนาเอกชน

3 ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกิดไป และไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ 2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของ ความพอเพียงนั้นจะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณา จากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะ เกิดขึ้นจากการกระทำนั้น ๆ อย่างรอบคอบ 3. การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อม รับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้น โดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่า จะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล

4

5 ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง จึงประกอบด้วยคุณสมบัติ ดังนี้ ๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่ มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและ การบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ๒. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความ พอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุ ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการ กระทำนั้นๆ อย่างรอบคอบ ๓. ภูมิคุ้มกัน หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการ เปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น โดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต


ดาวน์โหลด ppt เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ชี้แนวทางการดำรงชีวิต ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระ ราชดำรัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต่ปี พ. ศ. 2517 เป็นต้นมา.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google