งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเตรียมความพร้อม เข้าสู่ประชาคมอาเซียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเตรียมความพร้อม เข้าสู่ประชาคมอาเซียน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเตรียมความพร้อม เข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ชะเอม พัชนี สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖

2 familyweekend.co.th

3 ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community – AC)
One Vision, One Identity, One Community

4 การเตรียมพร้อมเพื่อการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

5 การเตรียมพร้อม ภายในประเทศ ภายในภูมิภาค ประเทศ กระทรวง
หน่วยงานท้องถิ่น ชุมชน ภายในภูมิภาค ร่วมมือระหว่างประเทศ คณะทำงานต่างๆ

6 ยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี ๒๕๕๘ ของสภาพัฒน์
ยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี ๒๕๕๘ ของสภาพัฒน์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของสินค้า บริการ การค้าและการลงทุน ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการคุ้มครองทางสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและโลจิกติกส์ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อให้มีมาตรฐานการศึกษาอาเซียน ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนากฎหมายและกฎระเบียบ เพื่ออำนวยความสะดวกด้านการค้า การลงทุน ยุทธศาสตร์ที่ 6 การสร้างความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักถึงความสำคัญของอาเซียน ยุทธศาสตร์ที่ 7 การเสริมสร้างความมั่นคง เน้นสร้างความร่วมมือ สร้างพันธมิตร การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดน ยุทธศาสตร์ที่ 8 การเพิ่มศักยภาพของเมืองเพื่อเชื่อมโยงโอกาสจากอาเซียน

7 หน่วยงานเจ้าภาพบูรณาการ
ยุทธศาสตร์ หน่วยงานเจ้าภาพบูรณาการ 1. การเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของสินค้า บริการ การค้า และการลงทุน สศช. 2. การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการคุ้มครองทางสังคม พม. 3. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์ คค. 4. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ศธ. รง. และ ก.พ. 5. การพัฒนากฎหมาย กฎ และระเบียบ ยธ. 6. การสร้างความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักถึงการเป็นประชาคมอาเซียน นร. 7. การเสริมสร้างความมั่นคง กต. 8. การเพิ่มศักยภาพของเมืองเพื่อเชื่อมโยงโอกาสจากอาเซียน มท.

8 Flagship ของกระทรวงสาธารณสุข
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก 1. สินค้าและการคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา สำนักงานการสาธารณสุขระหว่างประเทศ 2. บริการและแรงงานฝีมือ Health and Medical Hub กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 3. อาหารปลอดภัย/ความมั่นคงทางอาหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์/ สำนักส่งเสริมและสนับสนุนอาหารปลอดภัย/ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา 4. สุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต 5. ยาเสพติด กรมการแพทย์ 6. การสร้างเสริมสุขภาพอนามัยเจริญพันธุ์ การควบคุมการบริโภคยาสูบ กรมอนามัย/ กรมควบคุมโรค 7. การควบคุมโรค (ติดต่อและไม่ติดต่อ) HIV, IHR, ด่านด้านสาธารณสุข กรมควบคุมโรค 8. อนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

9 Flagship ของกระทรวงสาธารณสุข (ต่อ)
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก 9. สาธารณภัย สำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน 10. การขับเคลื่อนเพื่อเตรียมความพร้อมด้านสาธารณสุข สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์/ทุกกรม 11. ระบบบริการสาธารณสุขสำหรับแรงงานต่างด้าว สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 12. สิทธิมนุษยชน สิทธิสตรี สิทธิเด็ก ผู้พิการและผู้สูงอายุ 13. ระบบนิติเวช เพื่อสนับสนุนระบบยุติธรรม 14. พรบ.เชื้อโรค กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์/กรมควบคุมโรค 15. การจัดประชุมวิชาการ และแหล่งฝึกอบรมนานาชาติ 16. ปรับปรุงกฎหมาย ข้อบังคับ ให้รองรับ 17. Information System

10 การเตรียมความพร้อม การสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับหน่วยงานที่รับผิดชอบเพื่อวางแผนการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์การเข้าสู่ประชาคมอาเชียน การพัฒนางานสำคัญ เช่น การพัฒนาบุคลากร (ทักษะการเจรจาระหว่างประเทศ ทักษะด้านภาษา) การพัฒนาองค์ความรู้ การบริหารจัดการข้อมูล การพัฒนาความเชิ่อมโยงทางนโยบาย การพัฒนาความร่วมมือระหว่างทุกภาคส่วน

11 2. ศูนย์กลางแห่ง ความเป็นเลิศ 3. โรคติดต่อและภัยคุกคาม ทางสุขภาพ
1. อาหาร ปลอดภัย 2. ศูนย์กลางแห่ง ความเป็นเลิศ 3. โรคติดต่อและภัยคุกคาม ทางสุขภาพ การพัฒนา ศักยภาพด่าน การพัฒนา ห้องปฏิบัติการ การพัฒนากลไก เฝ้าระวังความ ปลอดภัยอาหาร การพัฒนา เครือข่าย ผู้บริโภค การพัฒนาจุด ประสานงาน ฉุกเฉิน การแพทย์แผน ไทย ทันตกรรม ผลิตภัณฑ์ สุขภาพ การส่งเสริม สุขภาพ การ ควบคุมปัจจัย เสี่ยง การจัดการภัย พิบัติ การแพทย์ เฉพาะทาง ระบบ UHC การประเมิน เทคโนโลยีและ นโยบายสุขภาพ การประชุมระดับ นานาชาติ International Health Regulations สุขภาพชายแดน สุขภาพผู้อพยพ ประกันสุขภาพ การควบคุม โรคติดต่อ การเข้าถึงบริการ สุขภาพ FETN ด่านกักกันโรค ตามแนว ชายแดนและจุด เข้าเมือง ๔. ประเด็นร่วม กลไกการประสานทางวิชาการ/การพัฒนาขีด ความสามารถ/ระบบข้อมูลและสารสนเทศ / การติดตาม ประเมินผล / การศึกษาวิจัย

12 ระดับท้องถิ่น การให้ข้อมูล การสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง

13 คณะทำงานด้านสาธารณสุขภายใต้ ASCC
ASEAN Task Force on AIDS (ATFOA) ASEAN Focal Point on Tobacco Control (AFPTC) ASEAN Expert Group on Food Safety (AEGFS) ASEAN Expert on Communicable Diseases (AEGCD) ASEAN Plus Three Field Epidemiology ASEAN Training Network (ASEAN Plus Three FETN) ASEAN Working Group on Pandemic Preparedness and Response (WGPPR) ASEAN Working group on Pharmaceutical Development (AWGPD) ASEAN Task Force on Traditional Medicine (ATFTM) ASEAN Task Force on Maternal and Child Health (ATFMCH) ASEAN Task Force on Non Communicable Disease (ATFNCD) ASEAN Mental Health Task Force (AMT) Health of migrants Increase access to health services for ASEAN people

14 Key challenges Effective methods of implementation
Avoid from ‘no action talk only - NATO’ Monitoring and evaluation (M&E) Disease surveillance and health information system (HIS) Asia Pacific Observatory (APO) Changing demographic and epidemiological patterns Ageing society with chronic illness Chronic non-communicable disease (NCD) Beyond disease control and prevention  health system strengthening and human resources for health Impact from ASEAN trade agreements

15


ดาวน์โหลด ppt การเตรียมความพร้อม เข้าสู่ประชาคมอาเซียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google