งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ณ วังรีรีสอร์ท จังหวัดนครนายก 9 พฤศจิกายน – น.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ณ วังรีรีสอร์ท จังหวัดนครนายก 9 พฤศจิกายน – น."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ณ วังรีรีสอร์ท จังหวัดนครนายก 9 พฤศจิกายน 2557 15.00 – 17.00 น.
โปรแกรมบันทึกและประมวลผลข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน ปี 2558 โปรแกรมบันทึกและประมวลผลข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) ปี 2558 คณะผู้พัฒนาโปรแกรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ บุญส่ง วัฒนกิจ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ไชยวัฒน์ รุ่งเรืองศรี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ชัย ปรีชาวีรกุล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ณ วังรีรีสอร์ท จังหวัดนครนายก 9 พฤศจิกายน – น.

2 โปรแกรมบันทึกและประมวลผล ข้อมูล จปฐ. และข้อมูลพื้นฐาน ปี 2558
หัวข้อวิชา โปรแกรมบันทึกและประมวลผล ข้อมูล จปฐ. และข้อมูลพื้นฐาน ปี 2558

3 ประเด็นความรู้ในหัวข้อวิชา
โปรแกรม BMN58 รุ่น Build ความต้องการของระบบ การติดตั้งโปรแกรม โครงสร้างของโปรแกรม การรวมข้อมูลจากหลายแหล่ง การสำรองข้อมูล ประสบการณ์การแก้ไข จปฐ. ปี 2557 คำถามที่พบบ่อย

4 1 โปรแกรม BMN58 รุ่น 3.1.0 Build 091114 ความเดิม
1 แผนชาติ - 1 แบบจัดเก็บ -1 โปรแกรม ปัจจุบัน แผนฉบับ 11 ( ) โปรแกรมเริ่มใช้เมื่อปี 2555 และปรับปรุงมาตลอดแต่ไม่มีการปรับฐานข้อมูลเลย รุ่นที่ปรับมาดูได้จาก “รุ่น” และ “Build” รุ่น Build ปรับปรุงมาจากโปรแกรมทีใช้ไปแล้วในปี 2555 – 57 แก้ไขรายละเอียดให้สะดวกต่อการใช้งานมากขึ้น แก้ไขการป้องกันการบันทึกข้อมูลผิด แก้ไขรายละเอียดของรายงาน เช่น หัวรายงาน ช่องเล็กไป ทศนิยม-ไม่ทศนิยม

5 รุ่นใหม่นี้ ปรับการออกรายงานเป็น 3 ชุด จปฐ. ข้อมูลพื้นฐาน ภาพรวม
โปรแกรม BMN58 รุ่น Build รุ่นใหม่นี้ ปรับการออกรายงานเป็น 3 ชุด จปฐ. ข้อมูลพื้นฐาน ภาพรวม ต้องเลือกข้อมูลเข้าเอง เช่น ชนบท => จปฐ., เมือง => ข้อมูลพื้นฐาน ต้องเลือกปีข้อมูล และหัวรายงาน ในหน้า login ป้องกันบันทึกผิดปี ออกรายงานผิด คำถาม? – จะให้ อำเภอ กับ อบต./เทศบาล ติดตั้งโปรแกรมรุ่นนี้ ใหม่กันอีกรึ? ควรอย่างยิ่ง (แต่สุดแล้วแต่ กรมฯ) เพราะ ยังมีบางแห่งยังคงเป็นรุ่นเก่ามาก เงื่อนไขการบันทึกได้เปลี่ยนไป เช่น ข้อสุดท้ายที่ผู้บันทึกมักไม่กาเพราะเห็นกาสีเทาไว้แล้ว จะได้ให้ใช้ทำเนียบพื้นที่ใหม่ทุกปี ใช้ทำเนียบเก่าต้องมาย้ายพื้นที่ภายหลัง

6 2 ระบบปฏิบัติการ พื้นที่ฮาร์ดดิสก์ ใน C:\ ซอฟต์แวร์อื่น
2. ความต้องการของระบบ 2 ระบบปฏิบัติการ Windows XP (SP3), 7 (SP1), 8, 8.1 (32/64 Bits) MS Office Access bits พื้นที่ฮาร์ดดิสก์ ใน C:\ XP SP2 - พื้นที่ 32 MB MB ถ้า Windows สูงกว่า XP - พื้นที่ 32 MB MB ซอฟต์แวร์อื่น ต้องมี pdf reader (แน่นอนต้องมีแอ๊พของ Office ตัวอื่น เช่น Excel,Word เพื่อการส่งออกรายงาน)

7 2. ความต้องการของระบบ ดูว่า Windows/Office รุ่นใดบ้าง ดูได้ยังไง? กดปุ่ม Windows แล้วพิมพ์ winver ตามด้วย enter

8 3 ชุดติดตั้งจะพิจารณาว่าเครื่องนั้นๆ ควรติดตั้งอย่างไร
3. การติดตั้งโปรแกรม 3 ชุดติดตั้งจะพิจารณาว่าเครื่องนั้นๆ ควรติดตั้งอย่างไร 1. ติดตั้งโปรแกรมพร้อมระบบ เครื่องที่ยังไม่เคยติดตั้งมาก่อน ทำตามคำอธิบายในหน้าต่างของแต่ละขั้นตอน อาจมีการปิด-เปิดเครื่องใหม่ 2-3 ครั้ง (เลิกงานอื่นทั้งหมดในขณะติดตั้ง) ไม่ทับรุ่นก่อน เพราะตั้งโฟลเดอร์ใหม่ (BMN58) 2. ติดตั้งเฉพาะโปรแกรม เครื่องที่เคยติดตั้ง จปฐ. หรือ กชช. 2ค มาก่อน ขนาดเล็ก (20MB)

9 ลิงค์ที่ กรมฯ /ศูนย์สารสนเทศฯ กำหนดไว้ให้ดาวน์โหลด
3. การติดตั้งโปรแกรม 3. หาโปรแกรมได้ที่ใด? ลิงค์ที่ กรมฯ /ศูนย์สารสนเทศฯ กำหนดไว้ให้ดาวน์โหลด สามารถนำลิงค์นี้ไปใส่ไว้ในเว็บของจังหวัดเพื่อให้อำเภอ/ตำบล/อปท. สามารถดาวน์โหลดได้สะดวก

10 เมนูระหว่างการติดตั้ง ไม่แสดงเป็นภาษาไทย หรือเปิดโปรแกรมแล้วไม่ทำงาน
3. การติดตั้งโปรแกรม เมนูระหว่างการติดตั้ง ไม่แสดงเป็นภาษาไทย หรือเปิดโปรแกรมแล้วไม่ทำงาน แก้ไขที่ Region ใน Control Panel เปลี่ยนให้เป็น Thailand ทั้ง 3 ที่ (Format, Location, Administrative)

11 4 รุ่นนี้ต้อง เลือกเพิ่ม
4. โครงสร้างของโปรแกรม 4 รุ่นนี้ต้อง เลือกเพิ่ม “ปีข้อมูล” คือปีการจัดเก็บ - ไม่ใช่วัน/เดือน/ปี ปัจจุบัน ผู้ที่บันทึกในเดือน พย.-ธค. 57 ต้องระวัง

12 หน้าแรก อ่านรุ่น ที่นี่ 4. โครงสร้างของโปรแกรม ปีบันทึกที่เลือก
มาอยู่ที่นี่ หน้าแรก อ่านรุ่น ที่นี่

13 เรื่องเก่า ....นำมาเล่ากันใหม่
4. โครงสร้างของโปรแกรม เรื่องเก่า ....นำมาเล่ากันใหม่ เผื่อจะได้เอาไปปรับชี้แจงโปรแกรมที่จังหวัด

14 การบันทึกทำได้ทั้ง Mouse และ Keyboard (Tab และแป้นพิมพ์)
4. โครงสร้างของโปรแกรม การบันทึกทำได้ทั้ง Mouse และ Keyboard (Tab และแป้นพิมพ์) ใช้ทำเนียบพื้นที่ที่จังหวัดส่งให้ล่าสุด (จังหวัดตรวจสอบ ว่ามีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่หรือไม่ ส่งให้ ศูนย์สารสนเทศฯ กรมฯ ปรับปรุงให้เพื่อความเป็นเอกภาพ) – วันประชุม ชี้แจงที่จังหวัด ต้องเน้นเรื่องนี้ หน้าต่างสำหรับบันทึก รายครัวเรือน เรียงข้อตามข้อใน แบบสอบถาม หัวหน้าครัวเรือน สมาชิกในครัวเรือน คำถามข้อ 1 – 30 ระดับความสุขของคนในครัวเรือน (หน้ารองปกหลัง)

15 4. โครงสร้างของโปรแกรม ก่อนส่งแบบให้ผู้บันทึก ควรตรวจสอบแบบสอบถามว่าตอบทุกข้อหรือไม่ หากไม่สมบูรณ์ให้ส่งไปแก้ไข เมื่อเลิกบันทึก ให้สำรองข้อมูลโดยการส่งออกไปเก็บไว้ทุก ครั้ง ใช้เมนู “นำเข้า/ส่งออก” แฟ้มที่ส่งออก (สำรอง) แสดงชื่อไม่ซ้ำกันด้วยวันที่ -เวลา โดยอัตโนมัติ จัดเก็บแฟ้มในโฟลเดอร์อื่น ที่ไม่ใช่ใน My document หรือใน drive C: ดูขนาดแฟ้มว่าต้องไม่ใช่ 0

16 4. โครงสร้างของโปรแกรม เลื่อน ขยาย ช่องได้ แสดงข้อมูลที่บันทึกแล้วรายครัวเรือน คล้ายกับ Excel ตรวจสอบการบันทึกของแต่ละครัวเรือนไว้ ว่ามีอะไรผิดสังเกตหรือไม่ อย่างไร หากพบที่ผิด จะแก้ไขทันทีไม่ได้ ต้องจดไว้แล้วไปแก้ด้วยเมนู “บันทึก/แก้ไข” เรียงข้อมูลได้

17 เลื่อนซ้ายขวา-ขึ้นลงได้, เรียงได้, ค้นหาได้ คล้าย Excel
4. โครงสร้างของโปรแกรม ตรวจข้อมูลที่บันทึกแล้ว ถูกต้องหรือไม่ หากผิด บันทึกไว้ แล้วไปแก้ด้วยเมนูบันทึก/แก้ไข เลื่อนซ้ายขวา-ขึ้นลงได้, เรียงได้, ค้นหาได้ คล้าย Excel

18 4. โครงสร้างของโปรแกรม การนับคำตอบในแต่ละเรื่อง จาก ระดับครัวเรือน หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด แล้วจัดเก็บไว้ เพื่อเตรียมสำหรับออกรายงาน ประมวล จปฐ.2 คือ การนับคำตอบในแต่ละเรื่องในครัวเรือนในแต่ละหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด ขึ้นไปจนถึงระดับประเทศ หากประมวล จปฐ.1 แล้ว ไม่จำเป็นต้องทำซ้ำ หากรวมข้อมูลจากหลายพื้นที่ ก็ให้ประมวล จปฐ.2 เพียงอย่างเดียวก็พอ (ประหยัดเวลาในกรณีที่ข้อมูลเยอะๆ) โปรแกรมจะทำการตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูล หากไม่สมบูรณ์จะไม่สามารถประมวลผลได้ แต่มีรายงานแจ้งว่าไม่ถูกต้องที่ใดให้ทราบ ... ให้แก้ไขแล้วประมวลใหม่

19 4. โครงสร้างของโปรแกรม ออกรายงานได้ตั้งแต่ระดับครัวเรือน หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ และจังหวัด เลือก (1) ปีข้อมูล (2) พื้นที่ (3) รายงานที่ต้องการ แสดงผลรายงานบนหน้าจอภาพ สามารถสั่งพิมพ์ หรือส่งไปจัดเก็บ (Export) เป็นแบบ Text, Excel หรือ PDF รายงานที่มีข้อมูลเพียง 1 ระเบียน เช่น สรุป จปฐ. 2 หรือจำนวน ประชากร เมื่อ export ไปเป็น excel ก็จะมีเพียง 1 row

20 4. โครงสร้างของโปรแกรม ข้อมูลครัวเรือนใดที่นำเข้าแต่ซ้ำกับที่มีอยู่ในฐาน จะไม่นำเข้าซ้ำอีก ข้อมูลที่นำเข้าประกอบด้วย ทำเนียบพื้นที่ จปฐ.1 และ จปฐ.2 การส่งออกข้อมูล คือ การเลือกเอาข้อมูลที่บันทึกไว้ส่งไปจัดเก็บเป็นแฟ้มข้อมูล เพื่อการสำรอง การส่งต่อ การส่งออกหรือการ สำรองข้อมูล ควรทำ ให้บ่อยที่สุดเท่าที่จะ ทำได้ เมื่อส่งออกแฟ้ม ข้อมูลจะมี วัน เวลา กำกับไว้ในชื่อแฟ้ม ใช้ลบข้อมูลได้

21 4. โครงสร้างของโปรแกรม บอกกล่าวเรื่องราวเกี่ยวกับ จปฐ. ข้อมูลพื้นฐาน โปรแกรม สถานที่ติดต่อ

22 4. โครงสร้างของโปรแกรม ใช้ในกรณีเมื่อต้องการเลิกทำงาน

23 5.ประสบการณ์การแก้ไข จปฐ. ปี 2557
แฟ้มฐานข้อมูลติด password กรมฯ ไม่มี password จึงแก้ข้อมูลให้ ไม่ได้ ต้องส่งให้ผู้พัฒนาโปรแกรมแก้ให้ ประสบการณ์ตรงที่ผู้พัฒนาโปรแกรม ได้รับจากที่จังหวัด/อำเภอส่งไปให้แก้ไข รวบรวมได้ดังต่อไปนี้

24 เข้า login แล้ว โปรแกรมหาข้อมูลไม่เจอ
ต้องไปแก้ใน Windows ตั้ง Location เป็น Thailand Control Panel => Region

25 ส่งออกแฟ้มข้อมูลไม่ได้ ไม่บันทึกให้
ผู้ที่ใช้ Windows รุ่นเก่า เจอปัญหา เครื่องมักไม่ยอมให้บันทึกชื่อแฟ้มที่มี ความยาว อักษรพิเศษ ช่องว่าง ฮาร์ดดิสต์เต็ม Windows บางตัว ไม่ยอมให้จัดเก็บแฟ้ม ไว้ในไดรฟ์ C:

26 บันทึกปีข้อมูล ผิด ต้องเตือนผู้บันทึกให้ระวังปีข้อมูล โดยเฉพาะผู้ที่บันทึกข้อมูลปี 2558 ใน เดือนธันวาคม 2557 โปรแกรมรุ่น Build ได้ ป้องกันโดยให้เลือกปีจาก drop down menu (รุ่นก่อนๆ ขึ้นปีปัจจุบันให้ ถ้าไม่ เปลี่ยนก็จะบันทึกปีข้อมูลผิด)

27 บันทึกพื้นที่ผิด จังหวัดต้องตรวจสอบพื้นที่ที่มีการ เปลี่ยนแปลงในปีบันทึก และแจ้งให้ ขพฐ.-ศสท. แก้ไขให้เพื่อความเป็น เอกภาพ (กรุณาอย่าแก้ไขเอง) แจ้งผู้บันทึกให้นำเข้าพื้นที่ใหม่ ทุกปี ห้ามใช้พื้นที่ในปีที่แล้ว ถ้าผิด--แจ้งให้ผู้พัฒนาโปรแกรมเพื่อ แก้ไขให้

28 มีโปรแกรมอยู่ในเครื่องตั้งแต่ปีที่แล้ว ยัง ใช้ได้อีกไหม?
ไม่ได้ ให้ถอดถอนแล้วติดตั้งรุ่นใหม่ โปรแกรมรุ่นใหม่มีการปรับปรุงสิ่งที่เป็น ความผิดพลาดที่สำคัญที่พบในปีก่อนๆ ดาวน์โหลดได้ง่าย ถ้าเคยติดตั้งมาก่อนแล้ว ติดตั้งใหม่โดย ไม่เสียเวลา

29 คำถามที่ถามกันบ่อย

30 ทำไม โปรแกรมรุ่นปัจจุบัน ไม่มีการแยกฐานข้อมูลตามเขตการจัดเก็บข้อมูลเพื่อความสะดวกในการแยกออกรายงาน?
คำตอบ ทำได้ แต่รอปรับทีเดียวในแผนฉบับที่ 12 ( ) เนื่องจากต้องปรับการออกแบบโปรแกรมใหม่ทั้งหมด แต่โปรแกรมปัจจุบันได้แยกการออกรายงานที่มีหัว รายงานเป็น (1) จปฐ. (2) ข้อมูลเบื้องต้น และ (3) ภาพรวม ไว้ให้แล้ว ดังนั้น ให้ทำด้วยมือ (อย่างที่เคยทำ) ไปก่อน ผู้ใช้ต้องเลือกข้อมูลสำหรับการออกรายงานมาใช้ในโปรแกรมเอาเอง – นำเข้า/ส่งออก เป็นรายงานๆ ไป

31 ทำไม รายงานที่ส่งข้อมูลออกไปใช้ใน กชช
ทำไม รายงานที่ส่งข้อมูลออกไปใช้ใน กชช. 2ค จึงนับจำนวนเด็กอายุน้อยกว่า 1 ปีเต็ม ซ้ำกับเด็กอายุ 1 ปีเต็ม? คำตอบ แก้ไขให้แล้ว ในโปรแกรมรุ่นนี้ และเพิ่มข้อ 1.3 หมู่บ้านนี้มีครัวเรือนทั้งหมด จำนวน .... ครัวเรือน อีก 1 ข้อ สำหรับข้อที่ไม่แสดงจำนวนข้ออื่นๆ หมายความว่าไม่มีข้อมูลใน จปฐ. เช่น จปฐ. ไม่ได้แยกจำนวนตามเพศชาย และเพศหญิง เป็นต้น

32 ทำโปรแกรมให้วิ่งบน Microsoft Office 2007 ด้วยได้ไหม?
คำตอบ ไม่ได้ โปรแกรมนี้อาศัยความสามารถของ MS Office 2010 ซึ่งรุ่นก่อนหน้านี้ยังไม่มีให้

33 การออกรายงาน ส่งออกไปเป็น MS Word ได้ไหม?
คำตอบ ได้ แต่ต้องคลิกที่ More เพื่อให้เห็น MS Word

34 โปรแกรมสามารถพ่วงเอาทั้ง จปฐ. กับ กชช. 2ค ไว้ในโปรแกรมเดียวกัน ได้ไหม?
คำตอบ ได้ แต่ต้องเป็นอีกโปรแกรมหนึ่ง เพราะต้องเริ่มต้นกันใหม่ทั้งหมด ขึ้นกับว่า กรมฯ อยากทำไหม

35 รายงานบางรายงาน ใช้กระดาษพิมพ์รายงานเปลืองมาก หาทางทำให้ใช้หน้ากระดาษน้อยหน่อยได้ไหม?
คำตอบ ปัจจุบันก็ทำได้อยู่แล้ว โดยส่งออกเป็น MS Word แล้วมาตัดแต่งเอาเองตามชอบใจ

36 หาทางแจ้งเตือนเมื่อบันทึกรายได้ครัวเรือนสูงเผื่อคนบันทึกจะได้ตั้งข้อสังเกต ได้ไหม?
คำตอบ ในรุ่นนี้ ยังไม่ได้ทำ เพราะเห็นว่าผู้บันทึกทราบดีอยู่แล้วในขณะที่กำลังบันทึกตัวเลข อาจรำคาญที่มีคำเตือนขึ้นมาให้เห็นบ่อยๆ ทำให้บันทึกได้ช้าลง

37 ในการบันทึกกรณี บ้านไม่มีเลขที่ (ใส่เลขที่ 9999 และ 9999/1 เรียงตามลำดับ) ต้องการให้โปรแกรมตรวจสอบ หากซ้ำให้ขึ้น pop up เตือนได้ไหม? คำตอบ ในรุ่นนี้ ยังไม่ได้ทำ ต้องตรวจสอบแบบสอบถามก่อนการบันทึก จัดการกันเองด้วยมือดีที่สุด

38 ในการตรวจสอบข้อมูล สมาชิกครัวเรือน ศาสนา หรือ การศึกษา เมื่อโปรแกรมตรวจสอบแล้วน่าจะให้แก้ไขได้เลย โดยที่ไม่ต้องออกไปแก้ไขในหน้าที่บันทึกข้อมูล ได้ไหม? คำตอบ การออกแบบโปรแกรม แยกการตรวจสอบ (ดู) กับการแก้ไข (บันทึก) ออกจากกัน ดังนั้นจึงยังจำเป็นต้องทำ 2 ครั้งไปพลางก่อน หากจะทำ ก็ต้องเปลี่ยนโครงสร้างฐานข้อมูลใหม่ทั้งหมด

39 โปรแกรมบันทึกและประมวลผล ข้อมูล จปฐ. และข้อมูลพื้นฐาน ปี 2558
จบ โปรแกรมบันทึกและประมวลผล ข้อมูล จปฐ. และข้อมูลพื้นฐาน ปี 2558

40 โปรแกรมบันทึกและประมวลผล
ข้อมูล กชช. 2ค ปี 2558 รุ่น Build

41 ประเด็นความรู้ในหัวข้อวิชา
1. โปรแกรม NRD58 รุ่น Build ความต้องการของระบบ 3. การติดตั้งโปรแกรม 4. โครงสร้างของโปรแกรม 4.1 การจัดการแฟ้มข้อมูล 4.2 การบันทึก/ แก้ไข 4.3 การรายงาน 5. การรวมข้อมูลและการสำรองข้อมูล

42 1. โปรแกรม NRD58 รุ่น Build โปรแกรม กชช. 2ค จัดเก็บ 2 ปีครั้ง ครั้งที่แล้วจัดเก็บ ปี 2556 โปรแกรมรุ่นนี้ปรับปรุงจาก NRD56 รุ่น Build พบว่าการจัดเก็บปี 2556 หลายพื้นที่ใช้โปรแกรมต่างรุ่นหลากหลาย การปรับปรุงโปรแกรม เป็นการปรับปรุงการใช้งาน และปรับปรุงรายงาน ไม่ส่งผลต่อข้อมูลที่บันทึกไปเมื่อปี 2556 สามารถนำเข้าข้อมูล ปี 2556 ได้เลย การจัดเก็บ บันทึกข้อมูล และรายงานข้อมูล ในปี 2558 ให้ใช้โปรแกรม NRD58

43 2. ความต้องการของระบบ 3. การติดตั้งโปรแกรม
เหมือนกันกับการใช้โปรแกรมบันทึกและประมวลผลข้อมูล จปฐ. และข้อมูลพื้นฐาน (BMN58) 3. การติดตั้งโปรแกรม เหมือนกันกับการติดตั้งโปรแกรมบันทึกและประมวลผลข้อมูล จปฐ. และข้อมูลพื้นฐาน (BMN58) โปรแกรมติดตั้งจะตรวจสอบเครื่อง หากพบว่าเครื่องมีการใช้โปรแกรม จปฐ. หรือ กชช. อยู่แล้ว การติดตั้งจะเสร็จสิ้นเร็วมาก

44 4. โครงสร้างของโปรแกรม (เข้าสู่ระบบ)
4. โครงสร้างของโปรแกรม (เข้าสู่ระบบ) เมื่อเปิดโปรแกรม จะปรากฏหน้า Login ให้ผู้ใช้แต่ละระดับ (ตำบล อำเภอ จังหวัด ส่วนกลาง) เข้าสู่ระบบ พร้อมรหัสผ่าน และให้ใส่ชื่อผู้บันทึก เปลี่ยนชื่อหน่วยงานที่ต้องการให้ปรากฏท้ายรายงาน (Footer) และวัน-เวลาที่เข้าใช้ระบบจะปรากฎอัตโนมัติ

45 4. โครงสร้างของโปรแกรม (เข้าสู่ระบบ)
4. โครงสร้างของโปรแกรม (เข้าสู่ระบบ) การใช้โปรแกรมครั้งแรก ระบบยังไม่มีข้อมูลอยู่เลย ดังนั้นจะปรากฏคำเตือน ให้นำเข้าข้อมูลพื้นที่ ซึ่งหากต้องการบันทึกข้อมูล จะต้องนำเข้าแฟ้มข้อมูลพื้นที่ที่กรมจัดให้ก่อน

46 4. โครงสร้างของโปรแกรม (เข้าสู่ระบบ)
4. โครงสร้างของโปรแกรม (เข้าสู่ระบบ) หน้าหลักของโปรแกรมประกอบด้วยเมนู 4 หัวข้อ ได้แก่ การจัดการแฟ้มข้อมูล การบันทึก/แก้ไข การรายงาน และเกี่ยวกับโปรแกรม ในกรณีที่ไม่มีข้อมูลพื้นที่ เมนูบันทึก และรายงาน จะปิดไม่ให้ใช้

47 4. โครงสร้างของโปรแกรม (นำเข้าทำเนียบพื้นที่)
การบันทึกข้อมูล หากยังไม่มีพื้นที่ที่จะบันทึกในระบบ ต้องนำเข้าทำเนียบพื้นที่ก่อน

48 4. โครงสร้างของโปรแกรม (นำเข้าทำเนียบพื้นที่)
เลือกแฟ้มข้อมูลพื้นที่จังหวัดที่ต้องการ Open เพื่อนำข้อมูลพื้นที่เข้า เสร็จแล้วจะขึ้นข้อความ “ได้ทำการนำข้อมูลเข้าเรียบร้อยแล้ว”

49 4. โครงสร้างของโปรแกรม (นำเข้าทำเนียบพื้นที่)
เมื่อมีทำเนียบพื้นที่ในระบบ เมนูทั้ง 4 จะเปิดให้ใช้งานได้หมด

50 4. โครงสร้างของโปรแกรม (บันทึก/แก้ไข)
4. โครงสร้างของโปรแกรม (บันทึก/แก้ไข) เลือกเมนูบันทึก/แก้ไข ตรวจดูปีบันทึก ระบุหมู่บ้านที่จะบันทึก หากหมู่บ้านนั้นยังไม่เคยบันทึกมาก่อน ช่องสถานะจะว่าง แล้วกดปุ่มบันทึก

51 4. โครงสร้างของโปรแกรม (บันทึก/แก้ไข)
เริ่มบันทึกข้อมูลตามแบบสอบถาม ในแต่ละส่วนแต่ละหน้า สามารถเลือกบันทึกได้ตามเหมาะสม

52 4. โครงสร้างของโปรแกรม (บันทึก/แก้ไข)
กรณีหมู่บ้านเคยบันทึกไปแล้ว ช่องสถานะจะมีเครื่องหมายแสดงให้เห็นว่าบันทึกครบถ้วนหรือยัง หากจะบันทึกต้องใช้ปุ่ม แก้ไข

53 4. โครงสร้างของโปรแกรม (บันทึก/แก้ไข)
เมื่อจะเปลี่ยนไปบันทึกส่วนอื่น โปรแกรมจะต้องให้ตอบว่าได้บันทึกครบถ้วนสมบูรณ์หรือยัง เพื่อจะได้ทราบสถานะของข้อมูล

54 4. โครงสร้างของโปรแกรม (บันทึก/แก้ไข)
เมื่อปิด เลิกบันทึกในหมู่บ้านนั้น โปรแกรมจะให้ตอบว่าได้บันทึกเสร็จสมบูรณ์หรือยัง เพื่อตรวจสอบสถานะข้อมูลก่อนการประมวลผล

55 4. โครงสร้างของโปรแกรม (บันทึก/แก้ไข)
กรณีต้องการลบข้อมูลในหมู่บ้านนั้น ให้ใช้ปุ่ม ลบ

56 4. โครงสร้างของโปรแกรม (บันทึก/แก้ไข)
โปรแกรมจะถามอีกครั้งว่า ตกลงจะลบหรือไม่

57 4. โครงสร้างของโปรแกรม (บันทึก/แก้ไข)
เมื่อลบแล้ว ช่องสถานะจะกลับเป็นช่องว่าง การลบในที่นี้จะลบเฉพาะข้อมูล ไม่ลบพื้นที่ จึงสามารถบันทึกใหม่ได้ทันที

58 4. โครงสร้างของโปรแกรม (ตรวจสอบการบันทึกข้อมูล)
ตรวจสอบสถานะการบันทึกข้อมูลแต่ละส่วน

59 4. โครงสร้างของโปรแกรม (ตรวจสอบการบันทึกข้อมูล)
ตรวจสอบรายชื่อหมู่บ้านและสถานะข้อมูลที่บันทึกแล้ว และพิมพ์รายชื่อหมู่บ้านที่บันทึกยังไม่ครบทุกส่วน

60 4. โครงสร้างของโปรแกรม (แสดงรายชื่อหมู่บ้าน)
แสดงรายชื่อหมู่บ้านที่ได้บันทึกครบทุกส่วนแล้ว

61 4. โครงสร้างของโปรแกรม (แสดงรายชื่อหมู่บ้าน)
แสดงรายชื่อหมู่บ้านที่ได้บันทึกครบทุกส่วนแล้ว

62 4. โครงสร้างของโปรแกรม (ประมวลผลตัวชี้วัด)
การประมวลผลเป็นการสรุป จำนวนในแต่ละข้อคำถาม และการประมวลระดับคะแนนของแต่ละตัวชี้วัด และระดับการพัฒนาของพื้นที่

63 4. โครงสร้างของโปรแกรม (ประมวลผลตัวชี้วัด)
เลือกปีของข้อมูลที่จะทำการประมวลผล

64 4. โครงสร้างของโปรแกรม (ประมวลผลตัวชี้วัด)
รอจนกว่ามีข้อความแจ้ง การดำเนินการเสร็จสิ้น

65 4. โครงสร้างของโปรแกรม (รายงาน)
4. โครงสร้างของโปรแกรม (รายงาน) รายงานระดับหมู่บ้านมี 2 ส่วน คือรายงานสำเร็จรูป และรายงานภาคผนวก

66 4. โครงสร้างของโปรแกรม (รายงาน)
4. โครงสร้างของโปรแกรม (รายงาน) รายงานสำเร็จรูป ระดับหมู่บ้าน

67 4. โครงสร้างของโปรแกรม (รายงาน)
สรุปสภาพปัญหาของหมู่บ้าน

68 4. โครงสร้างของโปรแกรม (รายงาน)
รายงานข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน

69 4. โครงสร้างของโปรแกรม (รายงาน)
รายงานภาคผนวกระดับหมู่บ้าน

70 4. โครงสร้างของโปรแกรม (รายงาน)
ข้อมูลกิจกรรมการพัฒนาชุมชน

71 4. โครงสร้างของโปรแกรม (รายงาน)
รายงานระดับ ตำบล อำเภอ จังหวัด ภาค ประเทศ ต้องประมวลผลก่อน และดูรายงานได้ตามระดับของผู้ใช้งานจากการ Login

72 4. โครงสร้างของโปรแกรม (รายงาน)
รายงานภาคผนวก ระดับตำบล

73 4. โครงสร้างของโปรแกรม (รายงาน)
รายงานสำเร็จรูป ระดับอำเภอ ขึ้นไป

74 4. โครงสร้างของโปรแกรม (รายงาน)
รายงานระดับการพัฒนาของหมู่บ้านชนบทไทย ระดับอำเภอ ขึ้นไป

75 4. โครงสร้างของโปรแกรม (รายงาน)
รายงานภาคผนวก ระดับอำเภอขึ้นไป

76 4. โครงสร้างของโปรแกรม (นำเข้าข้อมูล)
เลือกแฟ้มข้อมูลที่จะนำเข้า

77 4. โครงสร้างของโปรแกรม (นำเข้าข้อมูล)
มีข้อความแจ้งเมื่อนำเข้าเรียบร้อย แล้วประมวลผลตัวชี้วัด

78 4. โครงสร้างของโปรแกรม (ส่งออกข้อมูล)
ระบุพื้นที่ ปีข้อมูล ที่จะส่งออก เสร็จแล้วกดส่งออก

79 4. โครงสร้างของโปรแกรม (ส่งออกข้อมูล)
กำหนดชื่อแฟ้ม ที่เก็บแฟ้มที่ส่งออก Save แล้วรอจนข้อความแจ้งเสร็จ

80 4. โครงสร้างของโปรแกรม (ลบข้อมูล)
การลบข้อมูล สามารถเลือกลบบางพื้นที่ หรือลบทั้งหมดก็ได้

81 4. โครงสร้างของโปรแกรม (ลบข้อมูล)
การลบบางพื้นที่ ให้ระบุพื้นที่ที่จะลบ แล้วดำเนินการลบข้อมูล

82 4. โครงสร้างของโปรแกรม (ลบข้อมูล)
การลบข้อมูลทั้งหมด กดลบได้เลย ข้อมูลและพื้นที่จะลบทั้งหมด

83 4. โครงสร้างของโปรแกรม (กระชับข้อมูล)
การกระชับข้อมูล จะช่วยกระชับขนาดของฐานข้อมูล

84 5. การรวมข้อมูล และการสำรองข้อมูล
สามารถทำได้โดยการนำเข้าข้อมูล หากข้อมูลมีในระบบอยู่แล้ว จะไม่มีการนำเข้าซ้ำอีก การสำรองข้อมูล เมื่อทำการบันทึกข้อมูลแล้ว ต้องสำรองข้อมูลด้วยการส่งออกข้อมูล การลบข้อมูลควรดำเนินการด้วยความระม้ดระวัง และควรสำรองข้อมูลด้วยการส่งออกเก็บไว้ก่อนที่จะลบข้อมูล การสำรองข้อมูลจะช่วยให้สามารถนำข้อมูลกลับมาใช้ได้ กรณีเกิดความผิดพลาดทำให้ข้อมูลในระบบเสียหาย

85

86 ลิงค์สำหรับ power point
ลิงค์สำหรับ โปรแกรม จปฐ. รุ่น build ลิงค์สำหรับ โปรแกรม กชช. 2ค รุ่น build


ดาวน์โหลด ppt ณ วังรีรีสอร์ท จังหวัดนครนายก 9 พฤศจิกายน – น.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google