ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สินค้าเกษตรและอาหาร ที่สำคัญในตลาดอาเซียน
สัมมนา เรื่อง “ระดมความคิดเห็นแนวทางพัฒนาห้องปฏิบัติการทดสอบสินค้าเกษตรและอาหารเพื่อ รองรับการค้าอาเซียน (AEC) : สินค้าเกษตรและอาหาร ที่สำคัญในตลาดอาเซียน น.สพ.บุญเพ็ง สันตืวัฒนธรรม รองประธานสภา สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และประธานกลุ่มอุตสาหกรมอาหาร วันพุธที่ 9 กรกฏาคม 2557 เวลา – น. ณ โรงแรมมารวย
2
สินค้าเกษตรและอาหารที่สำคัญในตลาดอาเซียน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC (ข้อมูลทั่วไป) 2
3
ลาว ประชากร 6.6 ล้านคน GDP 7.7% (ปี 2556) เวียดนาม ประชากร 85 ล้านคน GDP 6.0% (ปี 2556) ฟิลิปินส์ ประชากร 96.7 ล้านคน GDP 6% (ปี 2556) พม่า ประชากร 5.6 ล้านคน GDP 6% (ปี 2556) กัมพูชา ประชากร ล้านคน GDP 7% (ปี 2556) ไทย ประชากร 64 ล้านคน GDP 4% (ปี 2556) บรูไน ประชากร ล้านคน GDP 1.3% (ปี 2557) มาเลเซีย ประชากร 29.7 ล้านคน GDP 4.6% (ปี 2557) สิงคโปร์ ประชากร 5.4 ล้านคน GDP 4.9% (ปี 2557) อินโดนีเซีย ประชากร 248 ล้านคน GDP 5.6% (ปี 2557) 3 ที่มา: Bank Of Thailand (BOT) , OECD
4
ไทยกับตลาดเสรีอาเซียนที่มีประชากร 601.3 ล้านคน
โดยมีกลุ่มชนชั้นกลาง คือ ประชากรที่มีรายได้ 10,000 – 50,000 บาท/เดือน อยู่ประมาณร้อยละ 67 และประชากรกลุ่มนี้จะมีจำนวนสูงถึง 200 ล้านคน (20-23%) ในอีก 20 ปี ข้างหน้า แหล่งข้อมูล: Population Reference Bureau, *การคาดประมาณประชากรไทยใช้ปี 2553 เป็นปีฐาน (สศช., 2553) 4
5
โอกาสที่จะเกิดขึ้นจาก AEC
ภาษีนำเข้าเป็น 0% อุปสรรคด้านภาษีหมดไป การค้าบริการ และ การลงทุน ที่เปิดกว้างมากขึ้น ทำให้ผู้ประกอบการ..... นำเข้าวัตถุดิบ สินค้ากึ่งสำเร็จรูปจากแหล่งผลิตใน AEC ที่มี ความได้เปรียบด้านราคาและคุณภาพ ย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศที่เหมาะเป็นแหล่งผลิต เช่น เวียดนามมีวัตถุดิบปลาน้ำจืดที่ถูกและแรงงานที่แล่ปลาเก่ง ใช้ฐานการลงทุนในกัมพูชาและลาวเพื่อส่งออกไปนอก อาเซียน เพื่อใช้ประโยชน์จากสถานะ LDCs (ประเทศที่พัฒนาน้อย ที่สุด) เช่น EU ให้สิทธิ GSP เกือบทุกสินค้ายกเว้นอาวุธ แก่กัมพูชา และลาว 5
6
โอกาสที่จะเกิดขึ้นจาก AEC
การเปิดเสรีการค้าบริการหลายๆ สาขา เช่น ท่องเที่ยว สุขภาพ นันทนาการ กีฬา ทำให้คนอาเซียนเดินทางหรือเข้า มาประกอบ ธุรกิจในไทยมากขึ้น สร้างโอกาสประชาสัมพันธ์ สินค้าได้มากยิ่งขึ้น ผู้ประกอบการมีทางเลือกมากขึ้นในการเลือกใช้บริการโลจิ สติกส์และการอำนวยความสะดวกทางการค้าอื่นๆ มีโอกาสเลือกแรงงานฝีมือระดับผู้จัดการขึ้นไป จากประเทศ สมาชิกอาเซียน 6 ที่มา: สถิติสินค้าเกษตรและอาหาร จากสถาบันอาหารและสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
7
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic Community: AEC
กรอบเวลาการลด/ยกเลิกภาษีภายใต้ ATIGA เวียดนาม ลาวและพม่า 2015 กัมพูชา AFTA rate = 0 % สำหรับประเทศ CLMV AFTA rate = 0 % ASEAN 6 ไทย: 8,824 รายการจาก 11,030 รายการ AFTA rate = 0 % สำหรับ ASEAN ทุกประเทศ AFTA rate = 0 % ASEAN 6 (ทุกรายการ) 2007 2010 2012 2015 สินค้าอ่อนไหวที่ประเทศสมาชิกอาเซียนต้อง ลดภาษีเหลือ %: น้ำตาล (อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์) ข้าว (อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์) กาแฟ (บรูไน) ปศุสัตว์ (กัมพูชา มาเลเซีย ฟิลิปปินส์) ไม้ตัดดอก (กัมพูชา มาเลเซีย) ผัก ผลไม้ พืชตระกูลถั่ว (กัมพูชา มาเลเซีย) เมล็ดพันธุ์ (มาเลเซีย) มันสำปะหลัง (ฟิลิปปินส์) สินค้าอ่อนไหวที่ไทย จะลดภาษีเหลือ 0% ในปี 2015 ไม้ตัดดอก มันฝรั่งสำหรับเพาะปลูก เมล็ดกาแฟ เนื้อมะพร้าวแห้ง
8
สินค้าอ่อนไหว (ของแต่ละประเทศ)
ประเทศ/รายการ รายการสินค้า (อยู่ระหว่างเจรจา/ทยอยลดภาษี) บรูไน (2) กาแฟ / ชา กัมพูชา (6) สัตว์ปีกมีชีวิต / เนื้อสัตว์ปีก / เนื้อปลา / กล้วยไม้และไม้ตัดดอกบางชนิด / พืชผัก / ผลไม้ ลาว (12) สัตว์มีชีวิตและสัตว์เลี้ยงสำหรับใช้งานและทำพันธุ์ / สัตว์ปีกเลี้ยงมีชีวิต / เนื้อ ส่วนอื่นที่บริโภคได้ของโค กระบือ สุกร / เนื้อ ส่วนอื่นที่บริโภคได้ของสัตว์ปีก / ปลามีชีวิต / ไข่สัตว์ปีกทั้งเปลือก / เครื่องในสัตว์ / พืชผักสด / พืชผักแช่เย็นแช่แข็ง / มันสำปะหลัง มันเทศ มันอื่นๆ / ลูกนัต สดหรือแห้ง และผสมผลไม้แห้ง / ผลไม้ มาเลเซีย (13) สุกรมีชีวิต / สัตว์ปีกมีชีวิต / เนื้อสุกร / เนื้อไก่แช่เย็นแช่แข็ง ไม่ได้ตัดเป็นชิ้น / นมและครีมมีไขมันเกินร้อยละ 6 / ไข่ไก่ ไข่เป็ด / ต้นยางติดตา / กะหล่ำ / ผลไม้ / กาแฟไม่ได้คั่ว ไม่ได้สกัดคาเฟอีนออก / เมล็ดยาง / ไผ่ หวาย พืชใช้ถักสาน / ยาสูบ ซิการ์ บุหรี่ พม่า (7) ถั่วลันเตา ถั่วบีน / กาแฟยังไม่ได้คั่ว / ชาเขียว / ข้าว / น้ำตาลดิบ / รังไหม ไหมดิบ เศษไหม / ฝ้าย เศษฝ้าย ฟิลิปปินส์ (6) สุกรมีชีวิต / สัตว์ปีกเลี้ยงมีชีวิต / เนื้อสุกร / เนื้อสัตว์ปีกและเครื่องใน / มันสำปะหลัง มันเทศ / ข้าวโพด ข้าวซอร์กัม เวียดนาม (9) สัตว์ปีกเลี้ยงมีชีวิต / เนื้อและเครื่องในไก่ ไก่งวง เป็ด / เนื้อและส่วนอื่นที่บริโภคได้ของกบ กระต่าย / ไข่ / พืช กุหลาบ ต้นโรโดเดนดรอน ต้นชวนชม / ส้ม มะนาว เกรปฟรุต / ข้าว / ไส้กรอก / น้ำตาลจากอ้อยหรือหัวบีท ไทย (4) ไม้ตัดดอก / มันฝรั่ง / กาแฟ / เนื้อมะพร้าว (จะลดเหลือ 0% ในปีค.ศ. 2015)
9
สินค้าอ่อนไหวสูง (ค่อยๆ ทยอยลดภาษี) ประเทศ สินค้า อัตราภาษี
อินโดนีเซีย ข้าว ลดจาก 30% เป็น 25% ในปี 2015 (2558) น้ำตาล ลดจาก 30-40% เป็น5-10% มาเลเซีย ลดจาก 40% เป็น 20% ในปี 2010 (2553) ฟิลิปปินส์ อยู่ระหว่างเจรจากับไทย (ปัจจุบัน 40% โควตานำเข้า 350,000 ตัน ไทยได้โควตา 90,000 ตัน/ปี)
10
ตัวอย่าง: ปัญหาการเข้าสู่ตลาดอาเซียนของไทย
ข้าว มาเลเซีย: ก่อนหน้านี้ รัฐวิสาหกิจเป็นผู้นำเข้าแต่ผู้เดียว ปัจจุบัน อนุญาตให้บริษัทในตลาดหลักทรัพย์เพียง 1 บริษัท เท่านั้นเป็นผู้นำเข้า อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์: รัฐบาลยังควบคุมการนำเข้า ไก่แปรรูป ฟิลิปปินส์: เมื่อไม่นานมานี้ รัฐบาลฟิลิปปินส์เพิ่งส่ง เจ้าหน้าที่มาตรวจโรงงานผู้ประกอบการไทย หลังจากได้รับแรงกดดันมาเป็นเวลานาน
11
ตัวอย่าง: ปัญหาการเข้าสู่ตลาดอาเซียนของไทย (ต่อ)
สินค้าสุกรแปรรูป มาเลเซีย สิงคโปร์: หน่วยงานด้านปศุสัตว์ประเทศผู้นำเข้า ต้องเข้ามาตรวจโรงงานในไทยก่อนและโรงงานส่งออกต้องมีหมายเลขรับรองโรงงาน (Est. No) จาก กรมปศุสัตว์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม: แต่ละประเทศมีการนำเข้าจากไทยเพียงเล็กน้อย เนื่องจากยังไม่มีการเปิดตลาดอย่างเป็นทางการ เนื่องจากผู้นำเข้ายังไม่มีความต้องการและผู้ส่งออกยังไม่ต้องการบุกเบิกตลาดเต็มที่ ที่มา: รวบรวมจากการสอบถามด้วยวาจาสำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ (ส.ค. 55)
12
มูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารของไทยสู่ตลาดอาเซียน
มูลค่าส่งออกสินค้าเกษตร (พิกัด 01-24) ใน อาเซียน ปี 2556 คิดเป็นมูลค่าส่งออกทั้งหมด 161,840 ล้านบาท มูลค่าส่งออกสินค้าอาหาร ในอาเซียน ปี 2556 คิด เป็นมูลค่าส่งออกทั้งหมด 908,411 ล้านบาท
13
การส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารของไทย (1/6)
เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆในตลาดอาเซียน ปี2555 มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐฯ สินค้า มูลค่าการส่งออกของไทยไปตลาดอาเซียน มูลค่าการส่งออกของประเทศสมาชิกอาเซียนในตลาดอาเซียน นมและครีม ที่ไม่ทำให้เข้มข้น และไม่เติมน้ำตาล หรือ สารทำให้หวานอื่น ๆ กัมพูชา (13.99) ฟิลิปปินส์ (4.74) เวียดนาม (2.70) ไทย(23.40) มาเลเซีย(14.36) อินโดนีเซีย(10.27) นมและครีม ที่ทำให้เข้มข้น หรือเติมน้ำตาล หรือสารทำให้หวานอื่น ๆ กัมพูชา(25.18) ลาว(11.21) พม่า(9.64) มาเลซีย(87.11) ไทย(51.77) ฟิลิปปินส์(51.54) บัตเตอร์มิลค์ นมและครีมชนิดเคอร์เดิล โยเกิร์ต เคเฟอร์ สิงคโปร์(25.13) ลาว(10.09) ฟิลิปปินส์(9.43) ไทย(53.96) มาเลเซีย(9.47) สิงคโปร์(1.89) แป้งธัญพืชอื่น ๆ นอกจากแป้งข้าวสาลี หรือแป้งเมสลิน มาเลเซีย(20.30) ฟิลิปปินส์(7.23) สิงคโปร์(5.23) ไทย(38.06) มาเลเซีย(1.72) สิงคโปร์(0.54) ที่มา: 13
14
การส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารของไทย (2/6)
เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆในตลาดอาเซียน ปี2555 มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐฯ สินค้า มูลค่าการส่งออกของไทยไปตลาดอาเซียน มูลค่าการส่งออกของประเทศสมาชิกอาเซียนในตลาดอาเซียน แป้งมัน อินโดนีเซีย(283.24) มาเลเซีย(111.71) ฟิลิปปินส์(26.01) ไทย(443.18) อินโดนีเซีย(16.56) สิงคโปร์(9.31) น้ำ รวมถึงน้ำแร่ธรรมชาติหรือน้ำแร่เทียม และน้ำอัดลมที่ไม่เติมน้ำตาลหรือสารทำให้หวาน อื่น ๆ กัมพูชา(3.64) พม่า(3.23) ลาว(2.94) มาเลเซีย (25.42) ไทย(9.94) อินโดนีเซีย(2.76) ไส้กรอกทำด้วยเนื้อสัตว์ ส่วนอื่นของสัตว์ สิงคโปร์(1.05) กัมพูชา(0.49) พม่า(0.28) มาเลเซีย(5.96) สิงคโปร์(2.65) ไทย(1.93) เนื้อสัตว์ ที่ปรุงแต่งหรือทำไว้ไม่ให้เสียอื่น ๆ สิงคโปร์(58.17) พม่า(1.95) กัมพูชา(1.60) ไทย(62.62) มาเลเซีย(20.72) สิงคโปร์(5.49) ที่มา: 14
15
การส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารของไทย (3/6)
เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆในตลาดอาเซียน ปี2555 มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐฯ สินค้า มูลค่าการส่งออกของไทยไปตลาดอาเซียน มูลค่าการส่งออกของประเทศสมาชิกอาเซียนในตลาดอาเซียน พืชผักอื่น ๆ ที่ปรุงแต่งหรือทำไว้ไม่ให้เสีย ไม่ได้แช่เย็นจนแข็ง ฟิลิปปินส์ (8.28) มาเลเซีย (5.16) สิงคโปร์ (3.52) มาเลเซีย (23.35) ไทย(22.92) สิงคโปร์(10.95) ผลไม้ ลูกนัต และส่วนอื่นที่บริโภคได้ของพืช ที่ปรุงแต่งหรือทำไว้ไม่ให้เสียโดยวิธีอื่น มาเลเซีย(16.98) สิงคโปร์(10.22) อินโดนีเซีย(5.55) ฟิลิปปินส์(69.04) ไทย(49.86) สิงคโปร์(33.77) น้ำผลไม้ (รวมถึงเกรปมัสต์) และน้ำพืชผัก ที่ไม่ได้หมักและไม่เติมสุรา พม่า(12.04) กัมพูชา(11.61) ลาว(11.35) ไทย(51.32) มาเลเซีย(22.42) สิงคโปร์(12.33) ซอสและของปรุงแต่งสำหรับทำซอส ของผสม ที่ใช้ปรุงรส ฟิลิปปินส์(46.18) กัมพูชา(29.22) พม่า(27.46) ไทย(156.12) มาเลเซีย(79.97) สิงคโปร์(59.24) ที่มา: 15
16
การส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารของไทย (4/6)
เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆในตลาดอาเซียน ปี2555 มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐฯ สินค้า มูลค่าการส่งออกของไทยไปตลาดอาเซียน มูลค่าการส่งออกของประเทศสมาชิกอาเซียนในตลาดอาเซียน ซุป ซุปข้น และของปรุงแต่งสำหรับทำซุปดังกล่าว อาหารปรุงแต่งที่มีส่วนผสมรวมเข้าเป็นเนื้อเดียวกัน พม่า(9.32) ฟิลิปปินส์(8.70) สิงคโปร์(2.77) ไทย(27.20) มาเลเซีย(12.37) สิงคโปร์(1.88) ไอศกรีมและน้ำแข็งอื่น ๆ ที่บริโภคได้ มาเลเซีย(15.94) สิงคโปร์(5.73) เวียดนาม(3.97) ไทย(31.84) อินโดนีเซีย(16.06) มาเลเซีย(13.22) อาหารปรุงแต่งที่ไม่ได้ระบุหรือรวมไว้ในที่อื่น ฟิลิปปินส์(108.70) พม่า(79.87) กัมพูชา(34.42) ไทย(307.58) มาเลเซีย(272.50) สิงคโปร์(248.91) น้ำ รวมถึงน้ำแร่และน้ำอัดลม และเครื่องดื่มอื่นๆ ที่ไม่มีแอลกอฮอล์ แต่ไม่รวมถึงน้ำผลไม้หรือน้ำพืชผัก พม่า(149.47) เวียดนาม(127.12) กัมพูชา(111.35) ไทย(549.78) มาเลเซีย(215.26) สิงคโปร์(64.14) ที่มา: 16
17
การส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารของไทย (5/6)
เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆในตลาดอาเซียน ปี2555 มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐฯ สินค้า มูลค่าการส่งออกของไทยไปตลาดอาเซียน มูลค่าการส่งออกของประเทศสมาชิกอาเซียนในตลาดอาเซียน เบียร์ที่ทำจากมอลต์ พม่า(84.27) กัมพูชา(67.51) สิงคโปร์(10.38) ไทย(165.91) สิงคโปร์(154.11) มาเลเซีย(99.86) ไวน์ที่ทำจากองุ่นสด พม่า(14.55) กัมพูชา(6.20) ลาว(2.58) สิงคโปร์(98.31) ไทย(23.87) มาเลเซีย(20.55) เอทิลแอลกอฮอล์มีความแรงแอลกอฮอล์โดยปริมาตรตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป ฟิลิปปินส์(102.02) สิงคโปร์(13.27) อินโดนีเซีย(1.88) ไทย(119.23) สิงคโปร์(29.70) อินโดนีเซีย(15.73) เอทิลแอลกอฮอล์มีความแรงแอลกอฮอล์โดยปริมาตรน้อยกว่าร้อยละ 80 สุรา ลิเคียวร์และเครื่องดื่มอื่น ๆ ที่เป็นสุรา พม่า(86.05) กัมพูชา(58.59) เวียดนาม(11.49) สิงคโปร์(888.10) มาเลเซีย(217.66) ไทย(86.05) ที่มา: 17
18
การส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารของไทย (6/6)
เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆในตลาดอาเซียน ปี2555 มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐฯ สินค้า มูลค่าการส่งออกของไทยไปตลาดอาเซียน มูลค่าการส่งออกของประเทศสมาชิกอาเซียนในตลาดอาเซียน ของปรุงแต่งชนิดที่ใช้ในการเลี้ยงสัตว์ (อาหารสัตว์) มาเลเซีย(65.47) กัมพูชา(64.96) เวียดนาม(41.36) ไทย(272.58) สิงคโปร์(152.71) มาเลเซีย(66.13) สิ่งสกัด หัวเชื้อและสิ่งเข้มข้นของกาแฟ ของชา หรือชามาเต้ พม่า(85.41) กัมพูชา(28.03) ลาว(23.13) อินโดนีเซีย(287.27) มาเลเซีย(211.06) ไทย(178.90) ที่มา: 18
19
(ปริมาณและคู่แข่งของไทยในตลาดอาเซียน) ตลาดในอาเซียน ที่สำคัญ
สรุป 10 อันดับนำเข้า-ส่งออก: สินค้าเกษตรและอาหารของไทยในตลาดอาเซียน ปี 2555/2556 รายการสินค้า ส่งออกไปอาเซียน (ปริมาณและคู่แข่งของไทยในตลาดอาเซียน) ตลาดในอาเซียน ที่สำคัญ ข้าว 6,611,620 ตัน / คู่แข่งของไทยในอาเซียน คือ เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย 2. ยางพารา 604,971 ตัน /คู่แข่งของไทยในตลาดอาเซียน คือ มาเลเซียและพม่า มาเลเซีย 3. อ้อยและน้ำตาล 6,644,435 ตัน / ไม่มีคู่แข่งในตลาดอาเซียน มาเลเซียและอินโดนีเซีย 4. ประมง (เฉพาะกุ้ง) 16,789 ตัน /คู่แข่งของไทยในตลาดอาเซียน คือ อินโดนีเซียและเวียดนาม - 5. ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 561,333 ตัน / คู่แข่งของไทยในตลาดอาเซียน คือ กัมพูชาและลาว อินโดนีเซีย เวียดนาม 19
20
(ปริมาณ / คู่แข่งของไทยในตลาดอาเซียน) ตลาดในอาเซียน ที่สำคัญ
สรุป 10 อันดับนำเข้า-ส่งออก: สินค้าเกษตรและอาหารของไทยในตลาดอาเซียน ปี 2555/2556 รายการสินค้า ส่งออกไปอาเซียน (ปริมาณ / คู่แข่งของไทยในตลาดอาเซียน) ตลาดในอาเซียน ที่สำคัญ 6. มันสำปะหลัง 9,189,387 ตันต่อปี /ไม่มีคู่แข่ง ทั่วอาเซียน 7. กาแฟสำเร็จรูป 38,341 ตัน / คู่แข่งของไทยในตลาดอาเซียนคือ อินโดนีเซีย เวียดนาม มาเลเซียและอินโดนีเซีย 8. ปาล์มน้ำมัน 187,202 ตัน / คู่แข่งของไทยในอาเซียน คือ อินโดนีเซีย เวียดนาม อินโดนีเซียและมาเลเซีย 9. สุกร (มีชีวิต) 564,080 ตัว / คู่แข่งของไทยในตลาดอาเซียน คือ เวียดนาม ฟิลิปปินส์ กัมพูชา พม่าและลาว 10. สุกร (สด แช่เย็น แช่แข็ง และแปรรูป) 4,500 ตัน / คู่แข่งของไทยในตลาดอาเซียน คือ เวียดนาม ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ พม่า และลาว 20
21
กลุ่มอุตสาหกรรม Food SMEs ที่สัมภาษณ์เกี่ยวกับตลาด AEC
รวมถึงปัญหาและอุปสรรค ปลาทูน่ากระป๋อง บริษัท ABD KHAN Co.,Ltd บริษัท CHIN HUAY Co.,Ltd ผัก/ผลไม้กระป๋อง บริษัท มหาบูรพา (Great Oriental Food Product Co.,Ltd) บริษัท C&A Production Co.,Ltd ผลไม้อบแห้ง/กรอบ บริษัท ขุนน้ำทาโพรเซสซิ่ง จำกัด บริษัท เจริญอุตสาหกรรม จำกัด ขนมขบเคี้ยว บริษัท Big One Product Co.,Ltd บริษัท First Confectionary สินค้าผัก/ผลไม้สด บริษัท Union Prestige Co.,Ltd แป้งข้าวเจ้า/แป้งข้าวเหนียว (สินค้ากลางน้ำ) บริษัท Bangkok Inter Food Co.,Ltd บริษัท Burapa Prosper Co.,Ltd อ เครื่องปรุงรส บริษัท Bangkok Flavor Co.,Part บริษัท Fatisco Co.,Ltd อาหารแช่แข็ง (Frozen Food) บริษัท J.M.Food Industry Co.,Ltd 21
22
SMEs ที่มีการค้ากับ ASEAN
ประเด็นปัญหา 1. ภายในประเทศ (ปัญหาที่เกิดจากภาครัฐ) ยกตัวอย่างเช่น 1.1 ค่าแรงขั้นต่ำ 300 บาท ส่งผลกระทบ ค่าแรงขึ้นแต่ไม่ได้ทำให้งานมีประสิทธิภาพตามขึ้น ไปด้วย 1.2 แรงงานฝีมือในประเทศขาดแคลน เนื่องจากปัจจัยค่าแรงไม่จูงใจและค่านิยมในการเรียนต่อ ระดับอุดมศึกษามากกว่าสายวิชาชีพ 1.3 ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร เช่น ภาษาอังกฤษหรือภาษาท้องถิ่นในอาเซียนยังมีน้อย 1.4 การออกใบอนุญาตของหน่วยงานของไทยยุ่งยาก ใช้เวลานาน 2. เกิดขึ้นจากผู้ประกอบการเอง ยกตัวอย่างเช่น 2.1 ไม่ลุย – ยังไม่มีความพร้อมที่จะรุกตลาด 2.2 คุณภาพสินค้ายังไม่ดีพอที่จะเข้าไปแข่งขันในตลาดอาเซียน 2.3 เงินทุนหมุนเวียนไม่เพียงพอ 2.4 เมื่อสินค้าติดตลาดก็ไม่สามารถผลิตให้ทันต่อความต้องการ อาจจะเพราะปัญหาการจัดการ บริหารต้นทุน หรือวัตถุดิบ 2.5 ขาดเครือข่ายที่ดี 3. ภายนอกประเทศ (กฎระเบียบของประเทศคู่ค้า) ยกตัวอย่างเช่น 3.1 ขั้นตอนภายในของประเทศคู่ค้าที่นอกเหนือความตกลงกำหนดไว้ในกรอบการค้าระหว่างประเทศ เช่น ที่ประเทศบูรไนมีการปฏิเสธไม่รับ Form D แต่กลับขอใบอนุญาตอย่างอื่นเพิ่มเติม 22 ที่มา: จากการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการ SMEs ที่เป็นสมาชิกสภาหอการค้าฯ และสภาอุตสาหกรรมฯ ทางโทรศัพท์ (กันยายน 56)
23
ท่านพร้อมหรือยัง ? Custom SPS NTB การค้าขาย ภาษี 0% Rule of Origin,
Tariff Custom SPS NTB การค้าขาย ภาษี 0% Rule of Origin, Harmonization Harmonization เพิ่มมากขึ้น 23
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.