งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ราคาที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กิโลกรัม)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ราคาที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กิโลกรัม)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ราคาที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กิโลกรัม)
สัดส่วนการบริโภคมะม่วงในประเทศไทย ส่งออก 1.34% ผลผลิตบริโภค ภายในประเทศ 98.66% แหล่งผลิตสำคัญ 5 อันดับแรก ได้แก่ นครราชสีมา สุพรรณบุรี ฉะเชิงเทรา อุดรธานี อุทัยธานี มะม่วง เนื้อที่ยืนต้น (ไร่) ไม่มีพื้นที่ปลูก ≤ 10,000 10,001 – 50,000 50,001 – 100,000 100,001 – 200,000 ชื่อไทย : Ma-muang ชื่อวิทยาศาสตร์ : Mangifera indica L. ปี 2549 2550 2551 - ตัน 24,511 29,663 36,334 815.77 1,148.15 1,428.74 มะม่วงสด 11,169 11,283 15,476 - ล้านบาท 259.24 293.92 354.18 มะม่วงกระป๋อง 12,446 12,489 17,210 432.46 438.76 665.71 การส่งออก ที่มา : กรมศุลกากร มะม่วงอบแห้ง 217 638 587 58.56 101.14 138.61 มะม่วงแช่แข็ง 678 5,254 3,062 65.49 314.31 270.23 ปี อัตราเพิ่ม (%) พื้นที่เก็บเกี่ยว (ล้านไร่) ผลผลิตรวม (ล้านตัน) ผลผลิตต่อไร่ (ตัน) ที่มา : ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ราคาที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กิโลกรัม) พันธุ์ ราคาเฉลี่ยทั้งปี พันธุ์ ราคาเฉลี่ยทั้งปี เขียวเสวย อกร่อง แก้ว แรด น้ำดอกไม้ ทองดำ ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ช่วงเวลาเก็บเกี่ยวผลผลิต ปี 2551 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. การคัดขนาด ขนาด น้ำหนัก (กรัม) 1 > 351 ที่มา : สำนักมาตรฐานและตรวจสอบสินค้าเกษตร ช่วงเดือนที่เก็บเกี่ยวผลผลิต ช่วงเดือนที่เก็บเกี่ยวผลผลิตสูง เรียบเรียงโดย : นางสาวสุนันทา พ่วงเสมา นักวิชาการผู้รับชอบมะม่วง กลุ่มฯไม้ผล สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร มิ.ย. 52

2 มะม่วง จุดเด่น แนวทางแก้ไขปัญหาในอนาคต ปัญหา
1. การปฏิบัติดูแลรักษาง่าย 2. สามารถทำการผลิตนอกฤดู 3. พันธุ์หลากหลาย แนวทางแก้ไขปัญหาในอนาคต 1. ทำการวิจัยวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวมะม่วงโดยเน้นในเรื่องการป้องกันและกำจัดโรคแอนแทรคโนส 2. ส่งเสริมให้เกษตรกรเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและ แนะนำระบบการบริหารคุณภาพการผลิตเพื่อควบคุม การผลิตตั้งแต่ระดับสวนเพื่อนำไปสู่การตรวจสอบและ รับรองสวน 3. สนับสนุนให้มีการทำสัญญาซื้อขายแบบล่วงหน้า (Contract Farming) มากขึ้น 4. ส่งเสริมให้มีการแปรรูปมากขึ้น 5. สร้างเครือข่ายระหว่างกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกมะม่วงเพื่อให้มีการเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสารและกำหนดวิธีการใน การผลิต 6. วิจัยในเรื่องวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว ปัญหา 1. ผลผลิตไม่สม่ำเสมอ และมีคุณภาพต่ำ 2. มี ศัตรูสำคัญ คือ แอนแทรคโนส และเพลี้ยไฟ 3. การเชื่อมโยงการตลาดระหว่างผู้ผลิต และผู้ประกอบการยังมีน้อย 4. ผู้ส่งออกไม่ให้ความสำคัญเรื่องการทำ สัญญาซื้อขายแบบล่วงหน้า แนวทางแก้ไขปัญหาที่ดำเนินการแล้ว 1. ถ่ายทอดเทคโนโลยีความรู้ในเรื่องการผลิตมะม่วงตามแบบเกษตรดีที่เหมาะสม (GAP) 2. รวมกลุ่มผู้ผลิตเพื่อพัฒนาคุณภาพผลผลิตตามความต้องการของตลาด 3. ภาครัฐมีการนำร่องการอบไอน้ำเพื่อป้องกันและกำจัดแมลงวันผลไม้ สำหรับประเทศที่มีข้อจำกัดในเรื่องนี้ เช่น ประเทศญี่ปุ่น เกาหลี และนิวซีแลนด์ 4. ส่งเสริมให้มีการทำสัญญาซื้อขายแบบล่วงหน้า (Contract Farming) 5. รณรงค์การป้องกันและกำจัด เพลี้ยไฟ และโรคแอนแทรคโนส ในแปลงเกษตรกร

3 ราคาที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กิโลกรัม)
มะม่วง การคัดขนาด ขนาด น้ำหนัก (กรัม) 1 > 351 ที่มา : สำนักมาตรฐานและตรวจสอบสินค้าเกษตร ชื่อไทย : Ma-muang ชื่อวิทยาศาสตร์ : Mangifera indica L. การส่งออก ปี 2548 2549 2550 - ตัน ปี พื้นที่เก็บเกี่ยว (ล้านไร่) ผลผลิต (ล้านตัน) ผลผลิตต่อไร่ (ตัน) 14,195 24,511 29,663 - ล้านบาท 597 816 1,148 ส่งออก 1.34% ผลผลิตบริโภค ภายในประเทศ 98.66% มะม่วงสด - ตัน 2,494 11,169 11,283 294 - ล้านบาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 713,393 ตัน (32.16%) ภาคเหนือ 513,939 ตัน (23.98%) ภาคอื่น ๆ 972,930 ตัน (43.86%) รวม 2,218,262 ตัน (100%) 134 259 มะม่วงกระป๋อง - ตัน 10,689 12,446 12,489 พื้นที่ปลูก (ไร่) ปี พื้นที่ให้ผล พื้นที่ยังไม่ให้ผล รวม ,762, , ,215,541 1,860, , ,245,619 1,906, , ,354,136 อัตราเพิ่ม (%) 439 - ล้านบาท 367 433 มะม่วงอบแห้ง - ตัน 180 217 638 - ล้านบาท 49 59 101 มะม่วงแช่แข็ง - ตัน 832 678 5,254 314 - ล้านบาท 48 66 ผลผลิต (ตัน) ปี ผลผลิตรวม ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่/ปี) 2,093, ,188 2,218, ,238 2,374, ,238 อัตราเพิ่ม (%) ที่มา : กรมส่งเสริมการเกษตร ศูนย์สารสนเทศ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ที่มา : กรมศุลกากร ราคาที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กิโลกรัม) พันธุ์ ราคาเฉลี่ยทั้งปี พันธุ์ ราคาเฉลี่ยทั้งปี เขียวเสวย อกร่อง แก้ว แรด น้ำดอกไม้ ทองดำ ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ภาคตะวันออก, ตะวันตก, กลาง มีนาคม - เมษายน (ผลผลิตออกมาก เม.ย-15 เม.ย. ) ภาคเหนือ, ตะวันออกเฉียงเหนือ้ เมษายน-มิถุนายน (ผลผลิตออกมาก เม.ย.-30 มิ.ย. ) ฤดูกาลเก็บเกี่ยว รวบรวมโดยกลุ่มฯไม้ผล สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร 1 มิ.ย. 50


ดาวน์โหลด ppt ราคาที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กิโลกรัม)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google