ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยChintana Kongkatitum ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
1 ปี 2547-2548 มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ปี 2547-2548 มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร. ศุภมาศ พนิช ศักดิ์พัฒนา
2
2 มหาวิทยาลัยเกษตรศาส ตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาส ตร์ กับการพัฒนาหลักสูตร เพื่อก้าวสู่มาตรฐาน การศึกษาสากล
3
3 หลักสูตร หลักสูตร คุณภาพอาจารย์ คุณภาพอาจารย์ คุณภาพนิสิต คุณภาพนิสิต ระบบการจัดการศึกษา ระบบการจัดการศึกษา - ปรับองค์กร : คณะ / ภาควิชา - กลุ่มภารกิจวิชาการ (Cluster of Knowledge) ความพร้อมอื่นๆ ความพร้อมอื่นๆ - อาคาร สถานที่ สภาพแวดล้อม และปัจจัย เกื้อหนุนต่างๆ ทิศทางการพัฒนา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
4
4 การพัฒนาหลักสูตร ผู้มีบทบาทสำคัญ... คณะกรรมการ การศึกษา ภาควิชา / คณะ / วิทยา เขต ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพื่อก้าวสู่มาตรฐานการศึกษา สากล
5
5 การบริหารจัดการหลักสูตร ความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวและ สอดคล้องกับ วิทยาเขต และเปิด โอกาสให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา หลักสูตรมากขึ้น สอดคล้องกับความต้องการของ สังคมและผู้ใช้บัณฑิต มีความยืดหยุ่นเอื้อต่อวิทยาเขต สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐาน การศึกษาของ สกอ.
6
6 การติดตาม / ประเมินผลการนำ หลักสูตร / รายวิชาไปใช้ การพิจารณาทบทวนร่วมกัน ระหว่างวิทยาเขต ประสานงานและปรับปรุงพัฒนา ร่วมกัน การรักษามาตรฐานเพื่อการ ปรับปรุงพัฒนา หลักสูตร / รายวิชา ระหว่างวิทยา เขต
7
7 หลักสูตรต้องมีคุณภาพ เครื่องมือต้องมีคุณภาพ อาจารย์ต้องมีคุณภาพ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มี คุณภาพ มก. เติบโตด้วย คุณภาพ
8
8 ทิศทางการพัฒนาหลักสูตร ในปี 2547-2548 การปรับปรุงแต่ละหลักสูตรใช้เวลาไม่เกิน 3 เดือนนับจาก คณะวิชา หลักสูตรใดยังไม่ปรับปรุง เมื่อมีนิสิตสำเร็จ การศึกษาและครบรอบระยะเวลาของหลักสูตร คณะวิชาต้องมีคำอธิบายต่อสภา มก. คณะกรรมการประจำคณะใช้เวลาในการ พิจารณาหลักสูตรไม่เกิน 45 วัน คณะกรรมการการศึกษาใช้เวลาในการ พิจารณาหลักสูตรไม่เกิน 45 วัน
9
9 แนวทางการบริหารจัดการ หลักสูตร กรณีนำ หลักสูตร / รายวิชาไปเปิดสอน ต่างวิทยาเขตและการรักษา มาตรฐานการศึกษา แนวทางการบริหารจัดการ หลักสูตร กรณีนำ หลักสูตร / รายวิชาไปเปิดสอน ต่างวิทยาเขตและการรักษา มาตรฐานการศึกษา
10
10 ขั้นตอนและหลักเกณฑ์การ นำหลักสูตร และรายวิชาต่างวิทยาเขต ไปเปิดสอน
11
11 คณะ / วิทยาเขต ที่ต้องการนำ หลักสูตร / รายวิชาต่างวิทยาเขตไปใช้ จะต้องดำเนินการหารือและขอความ เห็นชอบร่วมกัน
12
12 การนำรายวิชาไปใช้สอน ให้ยึดเนื้อหา การสอนในรายวิชานั้นจากคำอธิบาย รายวิชา (course description) และมี การตรวจสอบติดตามทบทวนร่วมกัน อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง ( ภาคต้น / ภาค ปลาย )
13
13 การนำหลักสูตรและรายวิชาจากต้น สังกัดใดไปใช้ มหาวิทยาลัยมี ข้อกำหนดให้ใช้รหัส 8 หลักตาม ต้นสังกัดนั้น
14
14 มีการกำหนดวิชาแกนขั้นต่ำ (minimum core) ในแต่ละ หลักสูตร และคณะฯ ที่ขอนำ หลักสูตรไปใช้โดยสามารถปรับปรุง รายวิชาเพิ่ม / ลดได้ หากไม่กระทบ ต่อวิชาแกนขั้นต่ำ เพื่อความ เหมาะสมในแต่ละวิทยาเขต
15
15 มีการประชุมร่วมกันระหว่างคณะต้น สังกัด และคณะวิชาที่นำหลักสูตรไป ใช้โดยมีส่วนร่วมในการปรับปรุง พัฒนาหลักสูตร / รายวิชาร่วมกัน
16
16 การรักษามาตรฐาน การศึกษา ระหว่างวิทยาเขตอาจทำ ได้หลายทาง
17
17 เชิญอาจารย์จากหลักสูตรต้น สังกัดมาช่วยสอนให้กับคณะที่ขอ ใช้หลักสูตร
18
18 คณะที่ขอใช้หลักสูตรสามารถขอ sit in ในรายวิชาของคณะต้น สังกัด
19
19 เชิญผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางมา ช่วยสอนและมีการแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นในการปรับปรุง พัฒนาหลักสูตร / รายวิชาร่วมกัน
20
20 คณะเจ้าของหลักสูตรให้คำแนะนำแนว ทางการพัฒนาอุปกรณ์การเรียนการสอน และห้องปฏิบัติการร่วมกับคณะ / วิทยา เขตที่นำหลักสูตรไปใช้ มีการติดตามประเมินผลและพิจารณา ทบทวนร่วมกัน ฯลฯ
21
21 ทั้งนี้ทั้งนั้น ต้องเป็นไปอย่าง สอดคล้องตามเกณฑ์มาตรฐาน การศึกษาและธำรงไว้ซึ่งคุณภาพ การศึกษา
22
22 สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.