ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
2
หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง PART 1 13.00 – 13.50 PART 2 14.00 – 14.50 PART 3 15.00 – 16.00 ความเป็นมาของแบบก่อสร้างโครงการพัฒนาแหล่งน้ำ กรมชลประทาน แบบประเภทต่างๆ ความรับผิดชอบของผู้อำนวยการกับแบบก่อสร้างฯ ในฐานะกรรมการฯ อำนาจ หน้าที่ ความรับผิดชอบ การออกแบบ การอนุมัติแบบก่อสร้าง กรมชลประทาน RID DWG. STANDARDS การนำแบบมาตรฐาน กรมชลประทานไปใช้ในหน่วยงานอื่น แบบที่ใช้ในการก่อสร้างโครงการชลประทานขนาดเล็กประเภทต่างๆ ประเภททำนบดิน ประเภทฝาย ประเภท ปตร. สถานีสูบน้ำ นายประสิทธิ์ สีโท วญช.สอ. กรมชลประทาน นายสาธิต มณีผาย ผชช.อบ.3 สอบ.ชป. นายไกรฤกษ์ อินท์ชยะนันท์, กม.อบ. สอบ.ชป.
3
ความเป็นมาของแบบก่อสร้างโครงการพัฒนาแหล่งน้ำ กรมชลประทาน
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง ความเป็นมาของแบบก่อสร้างโครงการพัฒนาแหล่งน้ำ กรมชลประทาน จัดการข้อมูลที่ใช้ในการออกแบบโครงการฯ จัดหา รวบรวม ตรวจสอบ วิเคราะห์ พิจารณาทบทวนโครงการฯ ศักยภาพโครงการ วัตถุประสงค์โครงการ ความเหมาะสมด้าน ต่างๆ ผลกระทบที่เกิดขึ้นจาก โครงการ ขั้นตอนการออกแบบโครงการฯ จัดทำแนวคิด จัดทำรายการคำนวณ ด้านวิศวกรรม จัดทำแบบแปลน ตรวจแบบ เสนอแบบ ให้ความเห็นชอบ อนุมัติแบบเพื่อใช้ใน การก่อสร้าง
4
แบบก่อสร้าง (Construction Drawing)
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง แบบก่อสร้าง (Construction Drawing) องค์ประกอบที่สำคัญ ของแบบก่อสร้าง กรอบชื่อแบบ แบบประกอบและหมายเหตุ เครื่องหมาย และสัญลักษณ์ที่ใช้ใน แบบ รายละเอียด และรายละเอียดเฉพาะ รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของ วัสดุอุปกรณ์ แบบประเภทต่างๆ Tender Drawing แบบโครงร่างเบื้องต้น Construction Drawing แบบก่อสร้าง Shop Drawing แบบแสดงรายละเอียดในแต่ละส่วน As built Drawing แบบก่อสร้างจริง
5
Tender Drawing (แบบโครงร่างเบื้องต้น)
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง Tender Drawing (แบบโครงร่างเบื้องต้น) หมายถึง แบบแปลน แผนผัง ซึ่งแสดงแนว ระดับ รูปร่าง ขนาด และรายละเอียดต่างๆ ของงานก่อสร้าง ที่ผู้ว่าจ้างต้องการให้ ผู้ประสงค์จะรับจ้างก่อสร้างทราบเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณา ในการคำนวณราคาค่าก่อสร้างในการเสนอราคาต่อผู้ว่าจ้าง โดยจะต้องใช้ควบคู่กับเงื่อนไขต่างๆ ที่ผู้ว่าจ้างกำหนดไว้ โดยแบบเพื่อการประมูลอาจมีรายละเอียดบางส่วน ไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ เพียงพอที่จะใช้ในการก่อสร้างได้
6
Construction Drawing (แบบก่อสร้าง)
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง Construction Drawing (แบบก่อสร้าง) หมายถึง แบบแปลน แผนผัง ซึ่งแสดงแนว ระดับ รูปร่าง ขนาด และรายละเอียดต่างๆ ของงานก่อสร้าง อย่างสมบูรณ์ ครบถ้วน เพียงพอ ที่ผู้รับจ้างจะนำไปใช้ทำการก่อสร้างได้ แบบแปลน ที่ใช้โดยทั่วไปหากมิได้ระบุไว้เป็นอย่างอื่น ถือว่าเป็นแบบเพื่อการก่อสร้าง
7
Shop Drawing (แบบแสดงรายละเอียดในแต่ละส่วน)
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง Shop Drawing (แบบแสดงรายละเอียดในแต่ละส่วน) หมายถึง แบบแสดงส่วนต่างๆ ที่จะทำการก่อสร้าง/ติดตั้ง โดยละเอียด ซึ่งจัดทำขึ้นใหม่ เนื่องจากแบบเพื่อการก่อสร้างมีรายละเอียดไม่สมบูรณ์/ครบถ้วน เพียงพอที่จะใช้ทำการก่อสร้าง หรือเนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลง รายละเอียดบางส่วนของแบบเพื่อการก่อสร้าง ด้วยเหตุผลว่าหากทำการก่อสร้างตามแบบเพื่อการก่อสร้างแล้ว จะมีปัญหาอุปสรรคในการก่อสร้าง/ใช้งานในอนาคต โดยแบบขยายรายละเอียดนี้ ต้อง ได้รับความเห็นชอบจากผู้ว่าจ้างหรือผู้แทนที่ผู้ว่าจ้างมอบหมาย ก่อนนำไปใช้ทำการก่อสร้าง
8
As built Drawing (แบบก่อสร้างจริง)
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง As built Drawing (แบบก่อสร้างจริง) หมายถึง แบบแปลน แผนผัง ซึ่งแสดงตำแหน่ง แนว ระดับ รูปร่าง ขนาดและรายละเอียดต่างๆ ของสิ่งก่อสร้างตามที่ก่อสร้าง และประกอบติดตั้งไว้จริงในสนาม ตามคำแนะนำ และได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจการจ้าง หรือที่ปรึกษาควบคุมงานก่อสร้าง(ถ้ามี) มีวัตถุประสงค์ เพื่อใช้เป็นข้อมูลสำหรับโครงการในการใช้งานและบำรุงรักษา สิ่งก่อสร้างนั้นๆ ต่อไปในอนาคต โดยสมควรใช้ประกอบกับแบบเพื่อการก่อสร้าง (Construction drawing)
9
หน้าที่ของผู้ควบคุมงาน
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง หน้าที่ของผู้ควบคุมงาน ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2545 ข้อ 73 ผู้ควบคุมงาน มีหน้าที่ ดังนี้
10
หน้าที่ของผู้ควบคุมงาน
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง หน้าที่ของผู้ควบคุมงาน ตรวจ และควบคุมงาน ณ สถานที่ที่กำหนดไว้ในสัญญา หรือที่ตกลงให้ทำงานจ้างนั้นๆ ทุกวัน ให้เป็นไปตามแบบรูป รายการละเอียด และข้อกำหนดในสัญญาทุกประการ โดยสั่งเปลี่ยนแก้ไขเพิ่มเติม หรือตัดทอนงานจ้างได้ตามที่เห็นสมควรและตามหลักวิชาช่าง เพื่อให้เป็นไปตามแบบรูป รายการละเอียด และข้อกำหนดในสัญญา ถ้าผู้รับจ้างขัดขืนไม่ปฏิบัติตามก็สั่งให้หยุดงานนั้นเฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใด หรือทั้งหมดแล้วแต่กรณีไว้ก่อน จนกว่าผู้รับจ้างจะยอมปฏิบัติให้ถูกต้องตามคำสั่ง และให้รายงานคณะกรรมการตรวจการจ้างทันที
11
หน้าที่ของผู้ควบคุมงาน (ต่อ)
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง หน้าที่ของผู้ควบคุมงาน (ต่อ) 2. ในกรณีที่ปรากฏว่า แบบรูป รายการละเอียด หรือข้อกำหนดใน สัญญามีข้อความขัดกัน หรือเป็นที่คาดหมายได้ว่าถึงแม้ว่างาน นั้นจะได้เป็นไปตามแบบรูป รายการละเอียด และข้อกำหนดใน สัญญา แต่เมื่อสำเร็จแล้วจะไม่มั่นคงแข็งแรง หรือไม่เป็นไป ตามหลักวิชาช่างที่ดี หรือไม่ปลอดภัย ให้สั่งพักงานนั้นไว้ก่อน แล้วรายงานคณะกรรมการตรวจการจ้างโดยเร็ว
12
หน้าที่ของผู้ควบคุมงาน (ต่อ)
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง หน้าที่ของผู้ควบคุมงาน (ต่อ) 3. จดบันทึกสภาพการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง และเหตุการณ์ แวดล้อมเป็นรายวัน พร้อมทั้งผลการปฏิบัติงาน หรือการหยุด งาน และสาเหตุที่มีการหยุดงานอย่างน้อย 2 ฉบับ เพื่อรายงาน ให้คณะกรรมการตรวจการจ้างทราบทุกสัปดาห์ และเก็บรักษา ไว้ เพื่อมอบให้แก่เจ้าหน้าที่พัสดุ เมื่อเสร็จงานแต่ละงวดโดยถือ ว่าเป็นเอกสารสำคัญของทางราชการเพื่อประกอบการตรวจสอบ ของผู้มีหน้าที่การบันทึกการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างให้ระบุรายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงาน และวัสดุที่ใช้ด้วย
13
หน้าที่ของผู้ควบคุมงาน (ต่อ)
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง หน้าที่ของผู้ควบคุมงาน (ต่อ) 4. ในวันกำหนดลงมือทำการของผู้รับจ้างตามสัญญา และในวันถึง กำหนดส่งมอบงานแต่ละงวด ให้รายงานผลการปฏิบัติงานของผู้ รับจ้างว่าเป็นไปตามสัญญาหรือไม่ ให้คณะกรรมการตรวจการ จ้างทราบภายใน 3 วันทำการ นับแต่วันถึงกำหนดนั้นๆ
14
หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจงานจ้าง
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจงานจ้าง ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2545 ข้อ 72 คณะกรรมการตรวจงานจ้าง มีหน้าที่ ดังนี้
15
หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจงานจ้าง
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจงานจ้าง 1. ตรวจสอบรายงานการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างและเหตุการณ์แวดล้อมที่ผู้ควบคุมงานรายงาน โดยตรวจสอบกับ แบบรูป รายการละเอียด และข้อกำหนดในสัญญาทุกสัปดาห์ รวมทั้งรับทราบหรือพิจารณาการสั่งหยุดงาน หรือพักงานของผู้ควบคุมงาน แล้วรายงานหัวหน้าส่วนราชการเพื่อพิจารณาสั่งการต่อไป
16
หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง (ต่อ)
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง (ต่อ) การดำเนินการตาม (1) ในกรณีมีข้อสงสัยหรือมีกรณีที่เห็นว่า ตามหลักวิชาการช่างไม่น่าจะเป็นไปได้ ให้ออกตรวจงานจ้าง ณ สถานที่ที่กำหนดไว้ในสัญญาหรือที่ตกลงให้ทำงานจ้างนั้นๆ โดยให้มีอำนาจสั่งเปลี่ยนแปลงแก้ไขเพิ่มเติม หรือตัดทอนงานจ้างได้ตามที่เห็นสมควร และตามหลักวิชาการช่าง เพื่อให้เป็นไปตามแบบรูป รายการละเอียด และข้อกำหนดสัญญา
17
หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง (ต่อ)
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง (ต่อ) 3. โดยปกติให้ตรวจผลงานที่ผู้รับจ้างส่งมอบภายใน 3 วันทำการนับ แต่วันที่ประธานกรรมการได้รับทราบการส่งมอบงาน และให้ทำ การตรวจให้เสร็จสิ้นไปโดยเร็วที่สุด
18
หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง (ต่อ)
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง (ต่อ) 4. เมื่อตรวจเห็นว่าเป็นการถูกต้องครบถ้วนเป็นไปตาม แบบรูป รายการละเอียด และข้อกำหนดในสัญญาแล้ว ให้ถือว่าผู้รับจ้าง ส่งมอบงานครบถ้วน ตั้งแต่วันที่ผู้รับจ้างส่งงานจ้างนั้น และให้ทำ ใบรับรองผลการปฏิบัติงานทั้งหมดหรือเฉพาะงวดแล้วแต่กรณี โดยลงชื่อไว้เป็นหลักฐานอย่างน้อย 2 ฉบับ มอบให้แก่ผู้รับจ้าง 1ฉบับ และเจ้าหน้าที่พัสดุ 1 ฉบับ เพื่อทำการเบิกจ่ายเงินตาม ระเบียบว่าด้วยการเบิกจ่ายจากคลัง และรายงานให้หัวหน้าส่วน ราชการทราบ ในกรณีที่เห็นว่าผลงานที่ส่งมอบทั้งหมดหรืองวด ใดก็ตามไม่เป็นไป ตามแบบรูป รายละเอียด และข้อกำหนดใน สัญญา ให้รายงานหัวหน้าส่วนราชการผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ เพื่อทราบหรือสั่งการ แล้วแต่กรณี
19
หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง (ต่อ)
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง (ต่อ) 5. ในกรณีที่กรรมการตรวจการจ้างบางคน ไม่ยอมรับงาน โดยทำ ความแย้งไว้ ให้เสนอหัวหน้าส่วนราชการเพื่อพิจารณาสั่งการ ถ้าหัวหน้าส่วนราชการสั่งการให้ตรวจรับงานจ้างนั้นไว้ จึงดำเนินการตาม (4)
20
“แบบรูป และรายละเอียด”
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง หน้าที่ของผู้ควบคุมงาน ตามระเบียบสำนักนายก รัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 6) พ.ศ ในหมวดการควบคุมการก่อสร้าง “แบบรูป และรายละเอียด” หมายถึง แบบก่อสร้างที่ใช้ในการก่อสร้างนั่นเอง !!
21
หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง PART 2 (14.00 – น.) อำนาจ หน้าที่ ความรับผิดชอบ การออกแบบ การอนุมัติแบบ และการแก้ไขแบบก่อสร้าง, RID DWG. STANDARDS การนำแบบมาตรฐาน กรมชลประทานไปใช้ในหน่วยงานอื่น
22
อำนาจ หน้าที่ ความรับผิดชอบในการออกแบบ
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง อำนาจ หน้าที่ ความรับผิดชอบในการออกแบบ หน่วยงานที่รับผิดชอบงาน ออกแบบรายละเอียดเพื่อการก่อสร้าง (ตามคำสั่งกรมฯ ที่ ข 107 /2 /2546 ลงวันที่ 24 มกราคม 2546) และต้องพิจารณาเรื่อง การแบ่งงานและ การกำหนดหน้าที่ ความรับผิดชอบภายในสำนักและกองในการปฏิบัติด้วย (ตามคำสั่งกรมฯ ที่ ข 249 /2546 ลงวันที่ 30 พฤษภาคม 2546)
23
ความรับผิดชอบในการลงนามในแบบก่อสร้าง Title Block ( 8 ช่อง)
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง ความรับผิดชอบในการลงนามในแบบก่อสร้าง Title Block ( 8 ช่อง) ออกแบบ (DESIGNED) เสนอ (SUBMITTED) เขียน (DRAWN) ผ่าน (REVIEWED) ลอก (TRACED) เห็นชอบ (RECOMMENDED) ตรวจ (CHECKED) อนุมัติ (APPROVED)
24
แบบก่อสร้างระบบส่งน้ำและอาคารประกอบ - แนวคลองส่งน้ำ
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง กรณีศึกษา ที่ไม่สามารถทำการก่อสร้างตามแบบก่อสร้าง จำเป็นต้องมีการแก้ไขแบบ แบบก่อสร้างระบบส่งน้ำและอาคารประกอบ - แนวคลองส่งน้ำ - อาคารประกอบในคลองส่งน้ำ แบบก่อสร้างเขื่อนดินและอาคารประกอบ แบบก่อสร้าง งาน อาคาร
25
สาเหตุ การเปลี่ยนแปลง ผลกระทบ
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง สรุปการแก้ไขแบบสำหรับงานก่อสร้างที่เป็นสาระสำคัญ สาเหตุ การเปลี่ยนแปลง และผลกระทบ สาเหตุ ความต้องการของผู้ว่าจ้าง ความบกพร่องของผู้ว่าจ้าง ความต้องการของผู้รับจ้าง ความบกพร่องของผู้รับจ้าง อุปสรรคในงานก่อสร้าง กฎหมายที่เปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลง ขอบเขตของงาน รายละเอียดของงาน วิธีการหรือขั้นตอนใน การทำงาน ผลกระทบ ต้นทุน ระยะเวลา
26
ขั้นตอนการแก้ไขแบบที่เป็นสาระสำคัญ
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง ขั้นตอนการแก้ไขแบบที่เป็นสาระสำคัญ กรณีแบบที่ดำเนินการเอง ก่อสร้างเองหรือจ้างเหมาก่อสร้าง ขั้นตอน ก่อนการก่อสร้าง/ประกวดราคา สอบ. ออกแบบ ผส.อบ. ขออนุมัติในหลักการ เพื่อแก้ไขแบบ โดยอยู่ใน อำนาจของ รธว. สชป. ออกแบบ เจ้าของโครงการขออนุมัติในหลักการ เพื่อแก้ไขแบบ โดยอยู่ใน อำนาจของ ผส.ชป. ให้หน่วยงานที่ดำเนินการ รับผิดชอบแก้ไขแบบ
27
ขั้นตอนการแก้ไขแบบ กรณีจ้างบริษัทที่ปรึกษา
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง ขั้นตอนการแก้ไขแบบ กรณีจ้างบริษัทที่ปรึกษา (ตรวจรับแบบไว้แล้ว) ขั้นตอน ก่อนการประกวดราคา สอบ. กำกับดูแล ผส.อบ. ขออนุมัติในหลักการ เพื่อแก้ไขแบบ โดยอยู่ใน อำนาจของ รธว. สชป. กำกับดูแล เจ้าของโครงการขออนุมัติในหลักการ เพื่อแก้ไขแบบ โดยอยู่ใน อำนาจของ ผส.ชป. ให้บริษัทที่ปรึกษา รับผิดชอบแก้ไขแบบ
28
ขั้นตอนการแก้ไขแบบ ขั้นตอน กรณีได้มีข้อผูกพันเป็นสัญญาแล้ว
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง ขั้นตอนการแก้ไขแบบ (แบบดำเนินการเอง และโดยบริษัทที่ปรึกษา) ขั้นตอน กรณีได้มีข้อผูกพันเป็นสัญญาแล้ว วงเงินค่าก่อสร้างไม่เกิน 50 ล้านบาท การแก้ไขแบบ โดยขออนุมัติตาม หลักการของ หน่วยงานที่ออกแบบ วงเงินค่าก่อสร้างเกิน 50 ล้านบาท เจ้าของโครงการขออนุมัติในหลักการ เพื่อแก้ไขแบบ อำนาจของ รธว. ผ่าน ผส.อบ. การแก้ไขหน่วยงานที่ออกแบบรับผิดชอบแก้ไขแบบ
29
หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง ในกรณีบริษัทที่ปรึกษาไม่แก้ไขแบบ เพื่อความรวดเร็ว สชป. แก้ไขเองได้หรือไม่ ? จากมติการหารือ “ถือเป็นหลักการ กรณีดังกล่าวให้แก้ไขสัญญา โดยใช้แบบใหม่ ที่เราสำรวจและออกแบบเอง ทั้งนี้ต้องไม่เป็นการแก้ไขแบบที่ปรึกษา และไม่เป็นงานที่กระทบต่อความปลอดภัยของโครงการ อนึ่ง หากมีการตรวจสอบทบทวนความถูกต้องเหมาะสมของแบบ ของบริษัทที่ปรึกษาก่อนมีการประกวดราคาจ้าง ก็จะลดปัญหาดังกล่าว และได้มอบหมายให้ รธว. สั่งการสำนักออกแบบฯ ดำเนินการทำเรื่องขออนุมัติหลักการเรื่องทำแบบใหม่ มิใช่เป็นการแก้ไขแบบ” (จากการประชุมคณะกรรมการพิจารณาหาข้อยุติในการบริหารสัญญาจ้าง ก่อสร้างที่มีวงเงินเกิน 50 ล้าน เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2550)
30
RID Standard Package I. แบบมาตรฐาน (Standard Drawings)
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง RID Standard Package I. แบบมาตรฐาน (Standard Drawings) II. แนวทางและหลักเกณฑ์การออกแบบ (Design Criteria) III. คู่มือการใช้แบบมาตรฐาน (Manual)
31
Scope งาน RID Standards
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง Scope งาน RID Standards WELCOME TO RID Standard Knowledge Center Office of Engineering and Architectural Design
32
สัญลักษณ์ของสถานะภาพ RID STD. - 2010
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง สัญลักษณ์ของสถานะภาพ RID STD ไม่ดำเนินการ ยังไม่ได้ดำเนินการ ดำเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว ดำเนินการ/ปรับปรุง เสร็จเรียบร้อยแล้ว ดำเนินการเสร็จแล้ว/ระหว่างการปรับปรุง
33
หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง นำแบบมาตรฐานกรมชลประทาน ไปใช้กับ หน่วยงานภายนอก ได้หรือไม่ ? จากมติคณะกรรมการพิจารณาแบบมาตรฐานกรมชลประทาน ได้มีมติดังนี้ “หากหน่วยราชการอื่นๆ ต้องการนำแบบมาตรฐานกรมชลประทานไปใช้ในการก่อสร้าง จะต้องขออนุญาตกับกรมชลประทานก่อน โดยอำนาจการอนุมัติ อยู่ที่ รธว. และสำหรับ บริษัทที่ปรึกษาให้พิจารณาจากรายละเอียด การจ้างฯ ที่ปรึกษา” (จากการประชุมคณะกรรมการพิจารณาแบบมาตรฐานกรมชลประทาน เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2550)
34
รูปที่ 1: รูปแบบการถ่ายโอนภารกิจ การก่อสร้างและบำรุงรักษาแหล่งน้ำ
(กรณีที่ 1 : เป็นอาคารที่ไม่ปิดกั้นลำน้ำเดิม) ลักษณะการถ่ายโอน อปท. ดำเนินการร่วมกับรัฐ (Share Function) อ่างเก็บน้ำ เขื่อนและทำนบ ความจุน้อยกว่า 2 ล้าน ลบ.ม. และ ความสูงน้อยกว่า 5.00 ม. จากฐานราก อปท. ดำเนินการ กรมชลประทาน ดำเนินการ รับเรื่องร้องขอโครงการ จากเกษตรกร พิจารณาโครงการเบื้องต้น ไม่ยุ่งยาก ยุ่งยาก สำรวจ ออกแบบ สำรวจ ออกแบบ กรมชลประทาน ช่วยเหลือ สนับสนุน ให้คำแนะนำ คำปรึกษาทางเทคนิควิชาการตามที่ อปท. ร้องขอ และติดตามประเมินผล ดำเนินการก่อสร้าง ดำเนินการก่อสร้าง ดูแลรักษาและบริหารจัดการน้ำ หมายเหตุ ดำเนินการร่วมกัน กรมชลประทานดำเนินการ อปท.ดำเนินการ
35
รูปที่ 2: รูปแบบการถ่ายโอนภารกิจ การก่อสร้างและบำรุงรักษาแหล่งน้ำ
(กรณีที่ 2 : เป็นอาคารที่ปิดกั้นลำน้ำเดิม) ลักษณะการถ่ายโอน อปท. ดำเนินการร่วมกับรัฐ (Share Function) อ่างเก็บน้ำ เขื่อนและทำนบ ความจุน้อยกว่า 2 ล้าน ลบ.ม. และ ความสูงตั้งแต่ 5.00 ม. ขึ้นไปจนถึงน้อยกว่า ม. จากฐานราก อปท. ดำเนินการ กรมชลประทาน ดำเนินการ รับเรื่องร้องขอโครงการ จากเกษตรกร พิจารณาโครงการเบื้องต้น สำรวจ ออกแบบ กรมชลประทาน ช่วยเหลือ สนับสนุน ให้คำแนะนำ คำปรึกษาทางเทคนิควิชาการตามที่ อปท. ร้องขอ และติดตามประเมินผล ดำเนินการก่อสร้าง ดูแลรักษาและบริหาร จัดการน้ำ หมายเหตุ ดำเนินการร่วมกัน กรมชลประทานดำเนินการ อปท.ดำเนินการ
36
รูปที่ 3: รูปแบบการถ่ายโอนภารกิจ การก่อสร้างและบำรุงรักษาแหล่งน้ำ
ฝายน้ำล้นและระบบส่งน้ำ ลักษณะการถ่ายโอน อปท. ดำเนินการเอง ฝายน้ำล้น ในลุ่มน้ำย่อย/จังหวัดเดียว ความสูงสันฝายไม่เกิน 2.50 ม.จากท้องน้ำ ปริมาณน้ำผ่านจุดที่ตั้งฝาย สูงสุดในรอบ 25 ปี ไม่เกิน 15 ลบ.ม./วินาที ระบบส่งน้ำ ในพื้นที่ดูแลของ อปท. คลอง/คูน้ำ/ระบบส่งน้ำในแปลงนา นอกเขตชลประทาน พื้นที่รับน้ำไม่เกิน 2,000 ไร่ อปท. ดำเนินการ กรมชลประทาน ช่วยเหลือ สนับสนุน ให้คำแนะนำ คำปรึกษาทางเทคนิควิชาการตามที่ อปท. ร้องขอ และติดตามประเมินผล รับเรื่องร้องขอโครงการ จากเกษตรกร พิจารณาโครงการเบื้องต้น สำรวจออกแบบ ดำเนินการก่อสร้าง ดูแลรักษาและบริหารจัดการน้ำ
37
รูปที่ 4: รูปแบบการถ่ายโอนภารกิจ การดูแลการชลประทานขนาดเล็ก
ลักษณะการถ่ายโอน อปท. ดำเนินการเอง อ่างเก็บน้ำ เขื่อนดิน/ทำนบดิน มีปริมาตรเก็บกักน้อยกว่า 2 ล้าน ลบ.ม. และความสูงน้อยกว่า ม. จากฐานราก ฝายน้ำล้น มีความสูงสันฝาย ไม่เกิน 2.50 ม. จากท้องน้ำ คลองส่งน้ำ คูน้ำ ระบบส่งน้ำในแปลงนา โครงการสูบน้ำด้วยไฟฟ้า มีพื้นที่รับน้ำไม่เกิน 2,000 ไร่ อปท. ดำเนินการ ดูแลรักษาและบริหารจัดการน้ำ กรมชลประทาน ช่วยเหลือ สนับสนุน ให้คำแนะนำ คำปรึกษาทางเทคนิควิชาการตามที่ อปท. ร้องขอ และติดตามประเมินผล
38
1. องค์ประกอบโครงการชลประทาน 2. การออกแบบโครงการชลประทาน
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง 1. องค์ประกอบโครงการชลประทาน 2. การออกแบบโครงการชลประทาน 2.1 หัวงานโครงการชลประทาน 2.2 ระบบชลประทาน 2.3 ระบบชลประทานในแปลงนา Part 3 : – 16.00
39
ข้อบังคับของสภาวิศวกรรม
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง ข้อบังคับของสภาวิศวกรรม เขื่อนดินและอาคารประกอบ ฝาย อุโมงค์ท่อระบายน้ำระบบชลประทานที่มีความสูง > 1.5 m. ความจุ > 50 m3 อัตราการไหล > 1 cms. ถือว่าเป็นลักษณะงานวิศวกรรมควบคุมสาขาวิศวกรรมโยธา ตามข้อบังคับสภาวิศวกรรมว่าด้วยผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมสาขาวิศวกรรมโยธา พ.ศ.2546
40
วิศวกรผู้ดำเนินงานต้องมีใบประกอบวิชาชีพ
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ 1. องค์ประกอบโครงการชลประทาน วิศวกรผู้ดำเนินงานต้องมีใบประกอบวิชาชีพ ประกอบวิชาชีพ สาขาวิศวกรรมโยธา ระดับสามัญวิศวกรโยธาขึ้นไป วิศวกรโยธาระดับภาคีสามารถดำเนินการได้ แต่จะต้องปฏิบัติงานภายใต้การดูแลอย่างระมัดระวังโดยเคร่งครัดของวิศวกรโยธาระดับสามัญขึ้นไป
41
1. องค์ประกอบโครงการชลประทาน ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ ความสูง (m)
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง 1. องค์ประกอบโครงการชลประทาน ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ ความสูง (m) < 15 15-40 > 40 ความจุ (ล้าน-m3) < 1.0 1-100 >100 งบประมาณ (ล้านบาท) 15-500 >500 เวลาก่อสร้าง (ปี) < 1 1-3 >3
42
1. องค์ประกอบโครงการชลประทาน
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ หัวข้อ ผู้อำนวยการฯ กับแบบก่อสร้าง 1. องค์ประกอบโครงการชลประทาน หัวงานโครงการชลประทาน เขื่อนกักเก็บน้ำ อาคารทางระบายน้ำล้น อาคารท่อส่งน้ำ อาคารท่อส่งน้ำลงลำน้ำเดิม ระบบชลประทาน ระบบส่งน้ำแบบคลองเปิด ระบบส่งน้ำรับแรงดัน ระบบชลประทานในแปลงนา ระบบระบายน้ำ
43
2.1 หัวงานอาคารชลประทาน เขื่อนกักเก็บน้ำ โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ 2.1 หัวงานอาคารชลประทาน เขื่อนกักเก็บน้ำ แบ่งตามลักษณะใช้งาน - เขื่อนเก็บกักน้ำ - เขื่อนทดน้ำ - เขื่อนผลิตพลังงานไฟฟ้า - เขื่อนป้องกันอุทกภัย แบ่งตามวัสดุที่ใช้ก่อสร้างเขื่อน - เขื่อนคอนกรีต * เขื่อนคอนกรีตถ่วงน้ำหนัก (Concrete Gravity Dam) * เขื่อนคอนกรีตโค้ง (Arch Dam) * เขื่อนคอนกรีตครีบยัน (Concrete Buttress Dam) - เขื่อนดิน เขื่อนดินเนื้อเดียว(Homogenous Dam) เขื่อนดินแบ่งส่วน (Zone Dam) - เขื่อนหินทิ้ง (Rock fill Dam) - เขื่อนหินทิ้งแกนดินเหนียว - เขื่อนคอนกรีตบดอัด (RCC Dam)
44
2.1 หัวงานอาคารชลประทาน โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ 2.1 หัวงานอาคารชลประทาน
45
2.1 หัวงานอาคารชลประทาน โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ 2.1 หัวงานอาคารชลประทาน อาคารทางระบายน้ำล้น (Spillway) หน้าที่ของ spillway คือระบายน้ำในอ่างเก็บน้ำเมื่อระดับน้ำเริ่มสูงกว่าระดับน้ำเก็บกักในฤดูน้ำหลากทิ้งลงลำน้ำเดิมด้านท้ายเขื่อน เพื่อป้องกันอันตรายจากสาเหตุน้ำไหลข้ามสันเขื่อน อันเป็นสาเหตุ หนึ่งที่ทำให้เขื่อนพังทลาย แบ่งตามลักษณะการใช้งาน - ทางระบายน้ำล้นใช้งาน (Service Spillway) - ทางระบายน้ำล้นเสริม (Auxiliary Spillway) - ทางระบายน้ำล้นฉุกเฉิน (Emergency Spillway) แบ่งตามที่ตั้งและรูปร่างของอาคาร - Spillway Dam - Saddle Dam Spillway - Overflow Spillway - Side Channel Spillway - Gate Spillway - Labyrinth Spillway - Hose Shore Shape Spillway - Siphon Spillway - Morning Glory Spillway - Tunnel Spillway
46
2.1 หัวงานอาคารชลประทาน โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ 2.1 หัวงานอาคารชลประทาน
47
2.1 หัวงานอาคารชลประทาน โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ 2.1 หัวงานอาคารชลประทาน ท่อส่งน้ำ (Outlet Work) หน้าที่ของ Outlet เป็นอาคารส่งน้ำจากอ่างไปใช้ในการชลประทานอาคารผันน้ำระหว่างก่อสร้างอาคารที่ช่วยเสริมการระบายน้ำจาก Spillway ระบายน้ำลงลำน้ำเดิม แบ่งตามลักษณะการใช้งาน - อาคารส่งน้ำเพื่อการชลประทาน (Canal Outlet) เพื่อการชลประทาน ประปา - อาคารท่อส่งน้ำลงลำน้ำเดิม (River Outlet) รักษาระดับน้ำในลำน้ำเดิมเพื่อให้ ราษฎรมีน้ำอุปโภค บริโภค ส่วนประกอบของอาคารท่อส่งน้ำ - ทางชักน้ำ (Approach Channel) - อาคารรับน้ำ (Intake Structure) - ท่อลำเลียงน้ำ (Outlet Conduit) - อาคารบังคับน้ำ (Control House) - อาคารท้ายน้ำ (Terminal Structure)
48
ข้อมูลที่ใช้ในการออกแบบอาคารหัวงาน
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ 2.1 หัวงานอาคารชลประทาน ข้อมูลที่ใช้ในการออกแบบอาคารหัวงาน 1. ข้อมูลวางโครงการ - รายงานเบื้องต้น (RR. : Reconnaissance Report) - รายงานการวางโครงการ (PR. : Pre-Feasibility Report) - รายงานโครงการเร่งด่วนพิเศษ (SR : Special Report) - รายงานศึกษาความเหมาะสม (FS : Feasibility Study) - การพิจารณาและประเมินผลผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสังคม (EIA : Environmental Impact Assesment) 2. ข้อมูลพื้นที่และป่าไม้ 3. ข้อมูลสำรวจภูมิประเทศ 4. ข้อมูลทางอุทกวิทยา 5. ข้อมูลสำรวจธรณีฟิสิกส์ 6. ข้อมูลสำรวจธรณีวิทยาฐานราก 7. ข้อมูลสำรวจธรณีวิทยาบริเวณอ่างฯ 8. ข้อมูลสำรวจบ่อยืมดิน (Borrow Area) 9. ข้อมูลแหล่งวัสดุก่อสร้าง 10. ข้อมูลการวิเคราะห์และทดสอบ คุณสมบัติของดิน 11. ข้อมูลการวิเคราะห์และทดสอบ คุณสมบัติวัสดุก่อสร้าง
49
แผนที่ภาพถ่ายทางอากาศออร์โธสี
50
2.2 ระบบชลประทาน โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ 2.2 ระบบชลประทาน ระบบส่งน้ำแบบคลองเปิด คลองส่งน้ำที่เป็นรางเปิด หรือร่องน้ำขนาดใหญ่ซึ่งขุดขึ้นในดินหรือถมขึ้นบนดิน เพื่อส่งน้ำให้แก่พื้นที่ชลประทาน โดยน้ำที่ส่งในคลองเปิดมาจากหัวงานชลประทาน ชนิดของคลองส่งน้ำ - คลองดิน เป็นคลองขุดดินหรือถมดิน - คลองดาด เป็นการดาดผิวคลองเป็น เปลือกด้วยวัสดุต่างๆ เช่น คอนกรีต ประเภทคลองส่งน้ำ - คลองสายใหญ่ มีเพียงสายเดียวหรือสองสาย และอยู่บนพื้นที่สูงที่สุดของโครงการ - คลองซอย - คลองแยกซอย
51
2.2 ระบบชลประทาน โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ 2.2 ระบบชลประทาน ระบบส่งน้ำรับแรงดัน เป็นการส่งน้ำโดยระบบท่อ เพื่อส่งน้ำให้แก่พื้นที่ชลประทาน โดยน้ำที่ส่งในระบบท่อมาจากหัวงานชลประทาน ชนิดของท่อส่งน้ำ - ท่อเหล็ก - ท่อ HDPE PE และท่อ PVC - ท่อ AC ข้อกำหนดของการส่งน้ำด้วยท่อ - ความเร็วในท่อขึ้นกับชนิดของท่อ เช่น ท่อ PVC ความเร็วต้องไม่เกิน 0.60 ม./วินาที - เส้น HGL ต้องสูงกว่าเส้นศูนย์กลางท่อ ไม่น้อยกว่า 2 เมตร
52
2.2 ระบบชลประทาน โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ 2.2 ระบบชลประทาน ระบบระบายน้ำ คลองระบายน้ำเป็นรางเปิด หรือร่องน้ำขนาดใหญ่ซึ่งขุดขึ้นในดิน เพื่อระบายน้ำส่วนเกินจากพื้นที่ชลประทาน หรือปริมาณน้ำหลาก (Flood) ชนิดของคลองระบายน้ำ - คลองระบายน้ำสายหลัก (Main Drain Channel) - คลองระบายน้ำสายซอย (Secondary Drain Channel) ข้อกำหนดคลองระบายน้ำ - สามารถระบายน้ำออกหมดภายใน 3 วัน - พื้นที่ <25 ตร.กม. ออกแบบใช้สถิติฝน ในรอบ 10 ปี - สัดส่วนก้นคลองกับความลึก เป็น 1/5 โดยก้นคลองน้อยสุดเท่ากับ 1 เมตร
53
2.3 ระบบชลประทานในแปลงนา
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ 2.3 ระบบชลประทานในแปลงนา ระบบชลประทานในแปลงนา การพัฒนาระบบชลประทานในแปลงนา จำแนกได้ 2 ลักษณะงานคือ 1. งานคันคูน้ำ และ 2. งานจัดรูปที่ดิน ลักษณะของงานคันคูน้ำ - คันคูน้ำแบบเส้นตรง คูน้ำแยกจากคลองทุก ม. สร้างอาคารบังคับน้ำเท่าที่จำเป็น - คันคูน้ำแบบลัดเลาะแนวแปลงเขต คูน้ำและคูระบายลัดเลาะตามแนว เขตแปลงกรรมสิทธิ์ที่ดิน สร้างทางลำเลียงขนาดคูส่งน้ำ เฉพาะเท่าที่ราษฎรยินยอม แบบการดำเนินการจัดรูปที่ดิน - การจัดรูปที่ดินแบบสมบูรณ์ (Intensive Development) เปลี่ยนรูปร่าง โยกย้ายแปลงกรรมสิทธิ์ ปรับระดับพื้นดินในแปลงเพาะปลูก - การจัดรูปที่ดินแบบพัฒนาบางส่วน (Extensive Development) คูส่งน้ำลัดเลาะตามแนวกรรมสิทธิ์ทุกแปลง หรือเกือบทุกแปลง (ไม่น้อยกว่า 70%)
54
2.3 ระบบชลประทานในแปลงนา
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ 2.3 ระบบชลประทานในแปลงนา หลักการในการจัดรูปที่ดิน - ทำคูส่งน้ำและท่อส่งน้ำเข้าแปลง เพาะปลูกทุกแปลง - ทำคูระบายน้ำทิ้ง เพื่อระบายน้ำ ส่วนที่ไม่ต้องการออกจากแปลง - ทำถนนหรือทางลำเลียงผลผลิต เข้าถึงทุกแปลง - จัดรูปแปลงที่ดินใหม่ให้เหมาะสม กับการใช้เครื่องยนต์การเกษตร - ปรับพื้นที่ในแปลงเพาะปลูกให้ สม่ำเสมอเพื่อให้ส่งน้ำได้ทั่วทั้ง แปลงอย่างมีประสิทธิภาพ ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดรูปที่ดิน - สามารถรับน้ำและระบายน้ำในแปลงเพาะปลูก ได้ตามต้องการ - สามารถปลูกพืชได้ตลอดปี - ได้รับความสะดวกในการลำเลียงวัสดุ การเกษตรและการขนส่งผลิตผลจากแปลง ออกสู่ตลาด - สามารถใช้เครื่องทุ่นแรงและเครื่องจักรกลใน การเตรียมแปลงและเก็บเกี่ยวได้อย่างมี ประสิทธิภาพ - ทำให้ที่ดินมีคุณค่าและประโยชน์มากขึ้น เพราะมีระบบชลประทานที่สมบูรณ์และการ คมนาคมในไร่นาที่สะดวก
55
2.3 ระบบชลประทานในแปลงนา
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ สำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ 2.3 ระบบชลประทานในแปลงนา เงื่อนไขในการจัดรูปที่ดิน 1. เมื่องานแล้วเสร็จ เกษตรกรที่ทำการจัดรูปที่ดิน ต้องจ่ายเงินในการจัดทำ 20% ของค่าก่อสร้าง ส่วนค่าใช้จ่ายที่เหลือรัฐบาลเป็นผู้จ่ายให้ 2. เมื่อพื้นที่ที่มีการจัดรูปที่ดินแล้ว ตาม พรบ. การจัดรูปที่ดิน พื้นที่ดังกล่าว จะต้องใช้ประโยชน์ในเชิงการเกษตรเท่านั้น 3. ถ้าต้องการใช้พื้นที่เพื่อประโยชน์อื่นนอกเหนือจาการเกษตร ต้องยื่นคำร้อง เพื่อได้รับการอนุญาตก่อน เช่นการขอทำที่อยู่อาศัย เป็นต้น 4.การจัดรูปที่ดินจะทำให้สูญเสียที่ดินสำหรับเป็นคูส่งน้ำ คูระบายน้ำและ ถนน ประมาณ 5-7 % แต่มูลค่าที่ดินจะสูงขึ้นถึง %
56
Q&A
57
จบการบรรยาย สวัสดีครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.