งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เครื่องมือและเทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วมของชุมชน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เครื่องมือและเทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วมของชุมชน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เครื่องมือและเทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วมของชุมชน
การจัดการประชุมแบบมีส่วนร่วม (AIC) แผนที่ชุมชน (Village Map) การกำหนดอนาคตหมู่บ้าน (Future Search Confluence : FSC) การวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส ข้อจำกัด (SWOT) การระดมสมองโดยใช้บัตรคำ (Metaplan) การสรุปเชื่อมโยงด้วยแผนที่ความคิด (Mind Map)

2 หลักการ AIC ตั้งอยู่บนพื้นฐานความพึงพอใจ และมีจุดมุ่งหมายเดียวกัน
ในอันที่จะสร้างสรรค์ และจัดการร่วมกัน แบ่งเป็น 3 ขั้นตอน คือ - ขั้นตอนความพึงพอใจ หรือ Appreciation (A) - ขั้นตอนกลวิธีทีที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จหรือ Influence (I) - ขั้นตอนการควบคุม หรือ Control (C)

3 ขั้นตอนความพอใจ Appreciation (A)
ขั้นตอนที่ 1 กรอบงาน ปรับการทำงานให้สมดุลระหว่าง พลังการทำงาน การควบคุม ความพอใจ ขั้นตอนที่ 2 ความเชื่อมโยง กำหนดให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ช่วยทำงาน ร่วมมือเอาชนะการต่อต้าน ขั้นตอนที่ 3 กำหนดวิธี กระบวนการให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เกิดความเข้าใจ สนับสนุน และยอมทำร่วมกัน

4 ขั้นตอนกลวิธี Influence (I)
ขั้นตอนที่ 4 ความเป็นจริง และความเป็นไปได้ - ถ้าไม่มีโครงการนี้จะเกิดอะไรขึ้นต่อเขา - ต้องทำอะไรเพิ่มขึ้น เพื่อให้ได้ความพอใจ ที่จะเป็นในอนาคต - เตรียมตัวรับความล้มเหลวในปัจจุบัน และคิดหาวิธีใหม่ ขั้นตอนที่ 5 จัดลำดับความสำคัญ ความรับผิดชอบ - ทำแผนปฏิบัติการที่ควบคุมได้ - มีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง

5 ขั้นตอนการควบคุม Control (C)
ขั้นตอนที่ 7 ลงมือปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 8 ประเมินค่า (Appraisal) ขั้นตอนที่ 9 ประเมินผล (Evaluation)

6 กระบวนการ AIC สู่การปฏิบัติ
ขั้นตอนการสร้างความรู้ (Appreciation : A) A1 : การวิเคราะห์สภาพการของหมู่บ้าน ชุมชน ตำบล ในปัจจุบัน A2 : การกำหนดอนาคตหรือวิสัยทัศน์ อันเป็น ภาพพึงประสงค์ในการพัฒนาว่าต้องการ อย่างไร

7 ขั้นตอนการสร้างแนวทางการพัฒนา (Influence : I)
วัตถุประสงค์ตามภาพที่พึงประสงค์ i2 : การจัดลำดับความสำคัญของกิจกรรมโครงการ ทำเองได้เลย บางส่วนต้องการความร่วมมือ/ การสนับสนุนจากหน่วยงาน ไม่สามารถทำเองได้ ต้องขอ ความร่วมมือ

8 ขั้นตอนการสร้างแนวทางปฏิบัติ (Control : C)
จัดทำแผนปฏิบัติ

9

10 การวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และข้อจำกัด
SWOT ANALYSIS

11 การวิเคราะห์ SWOT (+) โอกาส O : Opportunities (-) ภัยคุกคาม/ข้อจำกัด
ปัจจัยแวดล้อมภายนอก (+) โอกาส O : Opportunities (-) ภัยคุกคาม/ข้อจำกัด T : Threats การเมือง เศรษฐกิจ สังคม นโยบายของรัฐ การสนับสนุนจากภายนอก ทุน/ชื่อเสียง/การยอมรับ เทคโนโลยี (Technology) ประชาสังคม (+) จุดแข็ง S : Strengths (-) จุดอ่อน W : Weakness ปัจจัยแวดล้อมภายใน โครงสร้าง บุคลากร เงิน วัสดุอุปกรณ์ การจัดการ ความชำนาญการ วัฒนธรรมขององค์กร (Organization Culture) ค่านิยมร่วมขององค์กร (Core Value $ Share Value) ภาวะผู้นำ (Leadership) วิสัยทัศน์/กลยุทธ์/แผน (VISION/Strategy/Plan) บรรยากาศในองค์ (Organization Climate) ทรัพยากร/ทุนในลักษณะต้นทุนหรือทุนเดิม ภูมิปัญญา / ทุนทางปัญญา D : สุขสันติ์/การบริหารเชิงกลยุทธ์ 2

12 TOWS Model ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก S จุดแข็งภายในองค์กร W
จุดอ่อนภายในองค์กร O โอกาสภายนอก SO การนำข้อได้เปรียบของ จุดแข็งภายในและโอกาส ภายนอกมาใช้ WO การแก้ไขจุดอ่อนภายใน โดยพิจารณานำโอกาส ภายนอกที่เป็นผลดีต่อองค์กร T อุปสรรคภายนอก ST การแก้ไขหรือลดอุปสรรค ภายนอกโดยนำจุดแข็ง ภายในมาใช้ WT การแก้ไขหรือลดความ เสียหายของธุรกิจอันเกิดจาก จุดอ่อนภายในองค์กร และ


ดาวน์โหลด ppt เครื่องมือและเทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วมของชุมชน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google