ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNattanan Saenamuang ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
สังคมผู้สูงอายุและบทบาทของธุรกิจประกันภัย (Aging Society and Insurance Industry)
ความสำเร็จของนโยบายการวางแผนประชากรที่ทำให้อัตราเจริญพันธุ์ลดลง ผลสำเร็จของการพัฒนาสาธารณสุขที่สามารถลดอัตราการเสียชีวิตของมารดาและทารก ผลสำเร็จของการส่งเสริมสุขภาพและความเจริญก้าวหน้าของการรักษาพยาบาลที่เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดีขึ้น ส่งผลให้โครงสร้างของประชากรเปลี่ยนไป (Demographic Change) การเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างประชากรไทยและประชากรโลก
2
โครงสร้างประชากรโลกและประชากรไทย 2543 - 2568 หน่วย : พันคน
พ.ศ. จำนวนรวม 0-14 ปี 15-19 ปี 60 ปีขึ้นไป 15-59 ปี 2543 2548 2553 2558 2563 2568 6,070,578 6,453,627 6,830,282 7,194,247 7,540,238 7,851,455 30.1 28.3 27.0 26.1 25.2 24.2 59.9 61.3 61.9 61.6 61.2 60.8 10.0 10.4 11.1 12.3 13.6 15.0 62,237 64,765 67,042 69,056 70,821 72,288 24.7 23.0 21.2 20.2 19.0 18.0 65.9 66.7 67.1 66.0 64.2 62.0 9.4 10.3 11.7 13.8 16.8 20.0
3
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรไทย 2558 - 2578 หน่วย : พันคน
พ.ศ. 0-14 ปี ส่วนต่าง -ลดลง +เพิ่มขึ้น 15-59 60ปี ขึ้นไป 2548 2553 2558 2563 2568 2573 2578 23 20.7 19 17.2 16 15.1 14.4 -2.3 -1.7 -1.8 -1.2 -0.9 -0.7 66.7 67.4 67.0 66.0 64.1 62.2 60.5 +0.7 -0.4 -1.0 -1.9 10.3 11.8 14.0 16.8 19.8 22.7 25.1 +1.5 +2.2 +2.8 +3.0 +2.9 +2.4 อายุ
4
Thailand Population Pyramid for 1990
Age and sex distribution for the year 1990:
5
Thailand Population Pyramid for 2000
Age and sex distribution for the year 2000:
6
Thailand Population Pyramid for 2010
Age and sex distribution for the year 2010:
7
Thailand Population Pyramid for 2020
Predicted age and sex distribution for the year 2020:
8
Thailand Population Pyramid for 2050
Predicted age and sex distribution for the year 2050:
9
จำนวนประชากรวัยต่างๆ ตั้งแต่ พ.ศ. 2548 – 2578
10
ประชากรไทยในอนาคต สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ทำการคาดประมาณประชากรในอนาคต คือ ตั้งแต่ช่วงปีพ.ศ พ.ศ.2578 โดยคำนวณจาก “ประชากรฐาน” คือ ประชากรปี พ.ศ. 2548
11
วิธีคาดประมาณประชากรตามหลักโคฮอท (Cohort-component method)
หลักการของวิธีนี้ คือ จำนวนประชากรแต่ละรุ่นอายุจะเปลี่ยนไปด้วยองค์ประกอบ 3 ด้าน อันได้แก่ - การเกิด - การตาย - การย้ายถิ่น 71
12
การเกิด ตารางเปรียบเทียบจำนวนบุตรต่อสตรี 1 คนและช่วงอายุของสตรีที่ตั้งครรภ์ ปี 2548 ปี 2568 จำนวนบุตรต่อสตรี 1 คน 1.65 1.45 ช่วงอายุของสตรีที่ให้กำเนิด 20-24 ปี 25-29 ปี
13
การตาย ตารางเปรียบเทียบอายุขัยเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดของชายและหญิง ระหว่างปี 2548 และ ปี 2598
ผู้ชาย 68 75 ผู้หญิง 80
14
การย้ายถิ่น การย้ายถิ่นระหว่างประเทศที่ถูกต้องตามกฎหมายของประชากรไทยมีน้อยมากจนไม่ส่งผลกระทบต่อจำนวนและโครงสร้างประชากรมากนัก 74
15
รูปแบบการพึ่งพิงที่เปลี่ยนแปลงไป
รูปแบบการพึ่งพิงที่เปลี่ยนแปลงไป การแสดงระดับของการพึ่งพิงระหว่างประชากรกลุ่มอายุต่าง ๆ นิยมใช้ดัชนีที่เรียกว่า “อัตราส่วนพึ่งพิง” (Dependency ratio) เป็นตัวชี้วัด อัตราส่วนพึ่งพิง คือ อัตราส่วนระหว่างประชากรเด็กและประชากรสูงอายุต่อประชากรวัยทำงาน
16
อัตราส่วนพึ่งพิงยังสามารถจำแนกตามประเภทของผู้ที่ต้องพึ่งพิงเป็น2 ประเภทคือ -อัตราส่วนพึ่งพิงวัยเด็ก (Youth dependency) -อัตราส่วนพึ่งพิงวัยชรา (Old-age dependency ratio) จากตารางจะพบว่าอัตราส่วนพึ่งพิงวัยเด็กได้ลดลงอย่างมากและต่อเนื่องตั้งแต่ปีพ.ศ.2513 จนถึงพ.ศ.2578 ในขณะที่อัตราส่วนพึ่งพิงวัยชราได้เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วงเวลาเดียวกัน
17
ตาราง 1 ดัชนีผู้สูงอายุของประเทศไทย พ.ศ. 2548 – 2578
18
ตาราง 2 อัตราส่วนพึ่งพิงรวม อัตราส่วนพึ่งพิงวัยเด็ก และอัตราส่วน
พึ่งพิงวัยชรา พ.ศ – 2578 หมายเหตุ: อัตราส่วนพึ่งพิงของปี พ.ศ – 2543 คำนวณจากสำมะโนประชากร และของปี พ.ศ – 2578 คำนวณจากการฉายภาพประชากร
19
ตารางแสดงการเปรียบเทียบอัตราส่วนค้ำจุนผู้สูงอายุ
ปี 2503 ปี 2543 ปี 2558 ปี 2578 จำนวนคนวัยทำงาน ต่อการดูแลคนชรา 1 คน 11.3 7.0 4.8 2.4
20
อัตราส่วนค้ำจุนผู้สูงอายุของประเทศไทย พ.ศ. 2503 – 2578
อัตราส่วนค้ำจุนผู้สูงอายุของประเทศไทย พ.ศ – 2578
21
การออมเพื่อวัยเกษียณ
ความเสี่ยงที่จะมีอายุยืนยาว(Longevity Risk) ซึ่งความเสี่ยงดังกล่าวจะส่งผลกระทบหากไม่สามารถมีรายได้ที่เพียงพอในการดำรงชีพ ค่ารักษาพยาบาล ค่าอาหาร ที่อยู่อาศัย เป็นต้น การออมมี 2 ประเภท 1. การออมภาคบังคับ 2. การออมภาคสมัครใจ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.