งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ
04/04/60

2 ลูกหนี้การค้า หมายถึง ลูกหนี้ที่เกิดจากการดำเนินการค้าตามปกติของธุรกิจ
ลูกหนี้อื่น หมายถึง ลูกหนี้ที่ไม่ได้เกิดจากการดำเนินการค้าตามปกติของธุรกิจ เช่น ลูกหนี้และเงินให้กู้ยืมแก่กรรมการและลูกจ้าง เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทในเครือและบริษัทร่วม รายได้อื่นค้างรับ หนี้สูญ หมายถึง ลูกหนี้ที่ได้ติดตามทวงถามจนถึงที่สุดแล้ว แต่ไม่ได้รับชำระหนี้และได้ตัดจำหน่ายออกจากบัญชี 04/04/60

3 หนี้สงสัยจะสูญ หมายถึง ลูกหนี้ที่คาดว่าจะเรียกเก็บไม่ได้ และ
ถือเป็นค่าใช้จ่ายของรอบระยะเวลาบัญชีนั้น ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ หมายถึง จำนวนที่กันไว้สำหรับลูกหนี้ที่คาดว่าจะเรียกเก็บไม่ได้ และ ถือเป็นบัญชีปรับมูลค่าที่ตั้งขึ้น เพื่อแสดงเป็นรายการหักจากบัญชีลูกหนี้ในงบการเงิน เพื่อให้คงเหลือเป็นมูลค่าสุทธิของลูกหนี้ที่คาดหมายว่าจะเก็บได้ 04/04/60

4 หนี้สงสัยจะสูญให้พิจารณาทั้งลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น
และให้พิจารณาแยกต่างหากจากกัน การเปลี่ยนแปลงประมาณหนี้สงสัยจะสูญ ไม่ถือเป็นการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีหรือหลักการบัญชี ถือเป็นการเปลี่ยนแปลงประมาณการบัญชี 04/04/60

5 วิธีประมาณหนี้สงสัยจะสูญ 3. พิจารณาลูกหนี้แต่ละราย
ร้อยละของยอดขาย 1.1 ยอดขายรวม 1.2 ยอดขายเชื่อ 2. ร้อยละของยอดลูกหนี้ 2.1 ตามอัตราส่วน 2.2 จำแนกตามอายุของหนี้ที่ค้างชำระ 3. พิจารณาลูกหนี้แต่ละราย 04/04/60

6 บริษัท ก จำกัด ขายสินค้าเป็นเงินเชื่อ ในปี 2545 จำนวน 100,000 บาท
ปี 2546 จำนวน 120,000 บาท ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 2546 จำหน่ายหนี้สูญ จำนวน 950 บาท ในปี 2547 มีหนี้สูญรับคืน จำนวน 100 บาท ประมาณหนี้สงสัยจะสูญ 1%ของยอดขายเชื่อ 04/04/60

7 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1,000 (100,000 X 1%)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2545 Dr. หนี้สงสัยจะสูญ 1,000 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1,000 (100,000 X 1%) 04/04/60

8 Dr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 950 Cr. หนี้สงสัยจะสูญ 950
ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 2546 ตามกฎหมายภาษีอากร Dr. หนี้สูญ Cr. ลูกหนี้ Dr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 950 Cr. หนี้สงสัยจะสูญ ตามบัญชี Dr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 950 Cr. ลูกหนี้ 04/04/60

9 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1,200 (120,000 X 1%)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 Dr. หนี้สงสัยจะสูญ 1,200 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1,200 (120,000 X 1%) งบดุล ณ 31 ธันวาคม 2546 ลูกหนี้(สมมติ) 400,000 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1, ,750 (1, ) 04/04/60

10 สำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2546
งบกำไรขาดทุน สำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2546 ตามกฎหมายภาษีอากร ตามบัญชี ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย หนี้สูญ 950 หนี้สงสัยจะสูญ หนี้สงสัยจะสูญ 1,200 04/04/60

11 ปี 2547 ตามกฎหมายภาษีอากร Dr. ลูกหนี้ 100
Cr. หนี้สูญได้รับคืน(รายได้อื่น) 100 Dr. เงินสด Cr. ลูกหนี้ ตามบัญชี Dr. ลูกหนี้ Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 100 Dr. เงินสด Cr. ลูกหนี้ 04/04/60

12 ณ สิ้นปี 2545 บัญชีค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญมีจำนวน 1,000 บาท
ลูกหนี้สิ้นปี 300,000 บาท ปี 2546 จำหน่ายหนี้สูญ 200 บาท ลูกหนี้สิ้นปี 400,000 บาท ปี 2547 หนี้สูญได้รับคืน 200 บาท ลูกหนี้สิ้นปี 500,000 บาท ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 2%ของลูกหนี้สิ้นปี 04/04/60

13 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 5,000 (300,000 X 2% = 6,000
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2545 Dr. หนี้สงสัยจะสูญ 5,000 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 5,000 (300,000 X 2% = 6,000 6,000 – 1,000 = 5,000) 04/04/60

14 งบกำไรขาดทุน สำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2545
งบดุล ณ 31 ธันวาคม 2545 ลูกหนี้ ,000 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 6, ,000 งบกำไรขาดทุน สำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2545 หนี้สงสัยจะสูญ 5,000 04/04/60

15 Dr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 200 Cr. หนี้สงสัยจะสูญ 200
ปี 2546 ตามกฎหมายภาษีอากร Dr. หนี้สูญ Cr. ลูกหนี้ Dr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 200 Cr. หนี้สงสัยจะสูญ ตามบัญชี Dr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 200 Cr. ลูกหนี้ 04/04/60

16 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 2,200 (400,000 X 2% = 8,000
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 Dr. หนี้สงสัยจะสูญ 2,200 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 2,200 (400,000 X 2% = 8,000 8,000 – (6,000 – 200) = 2,200) 04/04/60

17 งบกำไรขาดทุน สำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2545
งบดุล ณ 31 ธันวาคม 2546 ลูกหนี้ ,000 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ,000 งบกำไรขาดทุน สำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2545 ตามกฎหมายภาษีอากร ตามบัญชี หนี้สูญ 200 หนี้สงสัยจะสูญ 2,000 หนี้สงสัยจะสูญ 2,200 (2, ) 04/04/60

18 ปี 2547 ตามกฎหมายภาษีอากร Dr. ลูกหนี้ 200 Cr. หนี้สูญได้รับคืน 200
ตามบัญชี Dr. ลูกหนี้ Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 200 Dr. เงินสด Cr. ลูกหนี้ 04/04/60

19 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 2,000 (500,000 X 2% = 10,000
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 ตามกฎหมายภาษีอากร Dr. หนี้สงสัยจะสูญ 2,000 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 2,000 (500,000 X 2% = 10,000 10,000 – 8,000 = 2,000) 04/04/60

20 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1,800 (500,000 X 2% = 10,000
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 ตามบัญชี Dr. หนี้สงสัยจะสูญ 1,800 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1,800 (500,000 X 2% = 10,000 10,000 – (8, ) = 1,800) 04/04/60

21 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 10,000 490,000
งบดุล ณ 31 ธันวาคม 2547 ลูกหนี้ ,000 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 10, ,000 04/04/60

22 งบกำไรขาดทุน สำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2547
ตามกฎหมายภาษีอากร ตามบัญชี รายได้อื่น หนี้สูญได้รับคืน 200 ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย หนี้สงสัยจะสูญ 2,000 หนี้สงสัยจะสูญ 1,800 04/04/60

23 ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเกินความต้องการ
ณ สิ้นปี 2546 ลูกหนี้ 600,000 บาท ณ สิ้นปี 2547 ลูกหนี้ 400,000 บาท ประมาณหนี้สงสัยจะสูญ 5 %ของลูกหนี้สิ้นปี 04/04/60

24 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 30,000 (600,000 X 5% = 30,000)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 Dr. หนี้สงสัยจะสูญ 30,000 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 30,000 (600,000 X 5% = 30,000) 04/04/60

25 Dr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 10,000 Cr. หนี้สงสัยจะสูญ 10,000
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 Dr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 10,000 Cr. หนี้สงสัยจะสูญ 10,000 (400,000 X 5% = 20,000 20,000 – 30,000 = -10,000 ) 04/04/60

26 สำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2546 และ 2547
งบกำไรขาดทุน สำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2546 และ 2547 ค่าใช้จ่าย วัสดุสำนักงาน 5, ,000 หนี้สงสัยจะสูญ (10,000) 30,000 04/04/60

27 Q & A 04/04/60


ดาวน์โหลด ppt หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google