งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การรับเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การรับเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การรับเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา
สภาคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย สมัยที่ 28 November 25, 2005 การรับเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา โดย รองศาสตราจารย์ นาวาอากาศเอก ดร.วรพจน์ ขำพิศ คณบดีสำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ประธานสภาคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย สมัยที่ 28

2 Copyright©2005 SUT Engineering All Rights Reserved
การรับนักศึกษาเข้าศึกษา การกำหนดนโยบาย ที่ประชุมอธิการบดี และ สกอ. จะทำหน้าที่กำหนดขอบข่ายการคัดเลือกนักศึกษา โดยภาพรวมของประเทศ สำหรับการรับระบบกลาง (Admission) โดยจะกำหนด การคิดสัดส่วนของคะแนนจากส่วนต่างๆ เช่น GPAX ร้อยละ 10 , GPA กลุ่มสาระฯ ร้อยละ 20 , O-NET (Ordinary National Education Test) และ A-NET (Advance National Educational Test) เป็นต้น Copyright©2005 SUT Engineering All Rights Reserved

3 GPA ของกลุ่มสาระ จะมาจากรายวิชา
การรับนักศึกษาเข้าศึกษา การกำหนดนโยบาย ที่ประชุมสภาคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย จะเป็นผู้กำหนดสัดส่วนคะแนนวิชาต่างๆ ลงในรายละเอียด เช่น จะกำหนดว่า GPA ของกลุ่มสาระ จะมาจากรายวิชา 1. ภาษาไทย 2. สังคม 3. ภาษาอังกฤษ 4. คณิตศาสตร์ 5. วิทยาศาสตร์ ในสัดส่วนวิชาละ 4% เท่ากัน รวม 20% ของคะแนนทั้งหมด Copyright©2005 SUT Engineering All Rights Reserved

4 O-NET (Ordinary National Education Test) จะให้น้ำหนักทั้งหมด 40%
การรับนักศึกษาเข้าศึกษา การกำหนดนโยบาย O-NET (Ordinary National Education Test) จะให้น้ำหนักทั้งหมด 40% มาจากรายวิชา ภาษาไทย 2. สังคม 3. ภาษาอังกฤษ 4. คณิตศาสตร์ 5. วิทยาศาสตร์ คิดสัดส่วน รายวิชาละ 8% เท่ากัน Copyright©2005 SUT Engineering All Rights Reserved

5 A-NET (Advance National Educational Test) จะให้น้ำหนักทั้งหมด 30%
การรับนักศึกษาเข้าศึกษา การกำหนดนโยบาย A-NET (Advance National Educational Test) จะให้น้ำหนักทั้งหมด 30% มาจากการสอบรายวิชา คณิตศาสตร์ 2 10% วิทยาศาสตร์ 2 10% ความถนัดทางด้านวิศวกรรม 10% (สอบไปแล้ว มีผู้ เข้าสอบ 49,880 คน) Copyright©2005 SUT Engineering All Rights Reserved

6 Copyright©2005 SUT Engineering All Rights Reserved
องค์ประกอบและค่าร้อยละของกลุ่มสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ องค์ประกอบ รหัส ค่าร้อยละ 1. GPAX 10 2. GPA (กลุ่มสาระฯ) 20 2.1 ภาษาไทย 21 (4) 2.2 สังคม 22 2.3 ภาษาต่างประเทศ 23 2.4 คณิตศาสตร์ 24 2.5 วิทยาศาสตร์ 25 3. O-NET 40 4. A-NET/ วิชาเฉพาะ 30 4.1 คณิตศาสตร์ 2 14 (10) 4.2 วิทยาศาสตร์ 2 15 4.3 ความถนัดทางวิศวกรรม 37 Copyright©2005 SUT Engineering All Rights Reserved

7 Copyright©2005 SUT Engineering All Rights Reserved
วิชาความถนัดทางวิศวกรรมสอบไปแล้วเมื่อวันที่ 15 ต.ค.48 รายวิชาอื่นจะเป็นไปตามรางสอบ ดังนี้ สาระที่จัดสอบ O-NET A-NET วันที่ เวลา 1. คณิตศาสตร์ 25 ก.พ.49 28 ก.พ.49 2. ภาษาอังกฤษ 3.สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4. วิทยาศาสตร์ 26 ก.พ.49 1 มี.ค.49 5. ภาษาไทย 6. ภาษาฝรั่งเศษ เยอรมัน บาลี อาหรับ จีน ญี่ปุ่น - Copyright©2005 SUT Engineering All Rights Reserved

8 Copyright©2005 SUT Engineering All Rights Reserved
การรับนักศึกษาเข้าศึกษา สำหรับปีการศึกษาหน้า สำหรับนักเรียนที่อยู่ ม.5 ยังไม่มีการกำหนดกรอบรวมจากที่ประชุมอธิการบดี และ สกอ. ดังนั้นทางสภาคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จึงยังไม่สามารถกำหนดรายละเอียดปลีกย่อยของแต่ละกลุ่มวิชาได้ Copyright©2005 SUT Engineering All Rights Reserved

9 Copyright©2005 SUT Engineering All Rights Reserved
การศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์ การเรียนด้านวิศวกรรมศาสตร์ต้องการนักเรียนที่มีคุณสมบัติอย่างไร ? มีความชอบและถนัดในวิชาคำนวณ ได้แก่ ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ ฯลฯ มีความมุ่งมั่น อดทน ไม่ย่อท้อต่ออุปสรรค มีความคิดสร้างสรรค์ ชอบค้นคว้าหาคำตอบ มีมนุษยสัมพันธ์ กล้าแสดงออก Copyright©2005 SUT Engineering All Rights Reserved

10 Copyright©2005 SUT Engineering All Rights Reserved
การศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์ ในระหว่างที่เรียน นักศึกษามักจะพบปัญหา / อุปสรรคใดบ้าง ? การเชื่อมโยงภาคทฤษฎีกับภาคปฏิบัติ ไม่สามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎี ภาษาต่างประเทศที่มีข้อจำกัดในการค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม ไม่สนใจในการเรียนในชั้นเรียนเท่าที่ควร ทำให้ขาดความต่อเนื่อง มีค่านิยมที่ผิดๆ เกี่ยวกับการศึกษาวิศวะฯ Copyright©2005 SUT Engineering All Rights Reserved

11 Copyright©2005 SUT Engineering All Rights Reserved
การศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์ เมื่อสำเร็จการศึกษาแล้วจะประกอบอาชีพ ในลักษณะอย่างไร ? งานวิศวกรประจำหน่วยงานราชการ/รัฐวิสาหกิจ งานวิศวกรในภาคเอกชน/สถานประกอบการอุตสาหกรรม ฯลฯ งานวิชาการ : นักวิจัยและพัฒนา งานออกแบบวิเคราะห์ระบบ งานที่ปรึกษาทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ที่ปรึกษางานโครงสร้าง/ งานระบบต่างๆ งานตรวจติดตามประเมินระบบงานวิศวกรรมศาสตร์สาขาต่างๆ Copyright©2005 SUT Engineering All Rights Reserved

12 Copyright©2005 SUT Engineering All Rights Reserved
การศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์ องค์กรวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง ? สภาวิศวกร กำหนดคุณสมบัติผู้ที่จะสามารถประกอบวิชาชีพ วิศวกรรมควบคุม กำกับดูแลวิศวกร วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นองค์กรที่ให้ความรู้ พัฒนาองค์ความรู้ ปรับปรุงมาตรฐาน ของวิศวกรไทย สมาคมวิชาชีพเฉพาะด้านวิศวกรรมอื่นๆ เช่น สมาคมวิศวกร- ปรับอากาศไทย สมาคมวิศวกรโยธา เป็นต้น ทำงานเฉพาะด้าน วิชาชีพนั้นๆ Copyright©2005 SUT Engineering All Rights Reserved


ดาวน์โหลด ppt การรับเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google