ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNgam Honghannarong ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ เวลา น. ณ ห้องประชุม 135 อาคารบรรยายรวม 3 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1 1
2
กรอบยุทธศาสตร์การจัดทำงบประมาณ
เพื่อมุ่งเป้าไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยวิจัย มหาวิทยาลัยที่ได้รับ การยอมรับในระดับนานาชาติ และมหาวิทยาลัยของประชาชน โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้ (ผ่านสภามหาวิทยาลัย ครั้งที่ 2/2556 วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2556) 1. สัดส่วนระหว่างงบรายจ่ายประจำและงบดำเนินงาน : งบตามยุทธศาสตร์ จาก 2 แหล่งงบประมาณ ดังนี้ กรอบยุทธศาสตร์ (%) งบรายจ่าย มธ : งบหน่วยงาน/หน่วยงานในกำกับ : สัดส่วนงบตามยุทธศาสตร์หลักด้านการวิจัย ดังนี้ กรอบยุทธศาสตร์ (%) งบรายจ่าย มธ (ปี 56 = 5) งบหน่วยงาน/หน่วยงานในกำกับ คณะ/สถาบัน ที่มีภารกิจด้านวิจัย/หน่วยงานในกำกับ (ปี 56 = 2) โรงพยาบาลธรรมศาสตร์ฯ (ปี 56 = 0.25)
3
กรอบยุทธศาสตร์การจัดทำงบประมาณ
3. สัดส่วนงบตามยุทธศาสตร์หลักด้านการพัฒนาสู่ความเป็นนานาชาติ ดังนี้ กรอบยุทธศาสตร์ (%) งบรายจ่าย มธ. 4 งบหน่วยงาน/หน่วยงานในกำกับ 1.คณะ/สถาบัน ที่มีภารกิจด้านวิจัย/หน่วยงานในกำกับ 2 2.โรงพยาบาลธรรมศาสตร์ฯ 0.5
4
การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้
ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ (ประมาณการล่วงหน้า 2 ปี) 1.งบประมาณรายจ่ายจากรายได้หน่วยงาน/หน่วยงานในกำกับ 2.งบประมาณรายจ่ายจากรายได้มหาวิทยาลัย (งบพิเศษ)
5
งบประมาณรายจ่ายจากรายได้หน่วยงาน/หน่วยงานในกำกับ
1.1 มหาวิทยาลัยจัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไป (Block grant) ให้แก่ คณะ/สำนัก/สถาบัน/รพ. โดยรวมค่าใช้จ่าย ดังต่อไปนี้ 1) ค่าจ้างชั่วคราว รวมเงินประกันสังคม สวัสดิการ เงินเลื่อนขั้น เงินพอกตำแหน่งหายาก การปรับบัญชีเงินเดือนของลูกจ้างและค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกิดจากการจ้าง 2) ค่าสาธารณูปโภคที่เป็นค่าโทรศัพท์ หน่วยงานที่จัดการศึกษารับผิดชอบทั้งหมด 3) ค่าใช้จ่ายในการจัดยานพาหนะระหว่างท่าพระจันทร์-รังสิต กรณีที่หน่วยงานดำเนินการจัดยานพาหนะให้บุคลากรของหน่วยงานหรือค่าตอบแทนผู้ที่ไปปฏิบัติงานที่ มธ.ศูนย์รังสิต ตามระเบียบที่หน่วยงานกำหนด 4) ค่าใช้จ่ายในการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน และการบริหารจัดการของหน่วยงาน
6
งบประมาณรายจ่ายจากรายได้หน่วยงาน/หน่วยงานในกำกับ
1.2 หน่วยงานนำวงเงินอุดหนุนทั่วไป (Block grant) ดำเนินการจัดทำงบประมาณรายจ่ายจากรายได้หน่วยงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ดังนี้ (แบบฟอร์ม PD-B1) 1) หน่วยงานที่มีรายได้ จะต้องนำวงเงินอุดหนุนทั่วไป (Block grant) ไปรวมกับเงินรายได้ของหน่วยงานโดยถือว่าเงินดังกล่าวเป็นรายได้ประเภทหนึ่งของหน่วยงาน 2) หน่วยงานที่ไม่มีรายได้ จะต้องนำวงเงินที่ได้รับจัดสรรจากเงินอุดหนุนทั่วไป (Block grant) ไปจัดทำงบประมาณรายจ่ายจากรายได้หน่วยงาน ตามความเหมาะสมและความจำเป็นของหน่วยงาน 1.3 หน่วยงานที่ไม่ได้รับจัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไป (Block grant) ให้นำเงินรายได้ของหน่วยงาน มาจัดทำเป็นงบประมาณรายจ่าย (แบบฟอร์ม PD-B1)
7
งบประมาณเกินดุล หมายถึง ประมาณการรายได้ มากกว่า งบประมาณรายจ่าย
งบประมาณรายจ่ายจากรายได้หน่วยงาน/หน่วยงานในกำกับ 1.4 ประเภทของงบประมาณ งบประมาณเกินดุล หมายถึง ประมาณการรายได้ มากกว่า งบประมาณรายจ่าย งบประมาณสมดุล หมายถึง ประมาณการรายได้ เท่ากับ งบประมาณรายจ่าย งบประมาณขาดดุล หมายถึง ประมาณการรายได้ น้อยกว่า งบประมาณรายจ่าย
8
งบประมาณรายจ่ายจากรายได้หน่วยงาน/หน่วยงานในกำกับ
1.5 กรณีที่หน่วยงานจัดทำงบประมาณแบบขาดดุล โดยการนำเงินสะสมมาตั้งเป็นงบประมาณรายจ่าย จะต้องดำเนินการตามเกณฑ์ที่สภามหาวิทยาลัยกำหนด ดังนี้ (มติสภามหาวิทยาลัย ครั้งที่ 4/2552 วันที่ 27 เมษายน 2552) 1) เงินสะสมที่หน่วยงานนำมาใช้ควรใช้เพื่อการลงทุน 2) งบประมาณเพื่อการลงทุน ให้หมายรวมถึง ค่าครุภัณฑ์ ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้างและให้รวมถึงงบประมาณเพื่อการพัฒนาบุคลากรที่เป็นเฉพาะทุนการศึกษาต่อระดับปริญญาโทและปริญญาเอก 3) รายการที่นำเงินสะสมมาใช้เพื่อการลงทุน ห้ามโอนย้าย งบประมาณไปใช้สำหรับงบดำเนินการ
9
4) กำหนดวงเงินสะสมที่หน่วยงานนำมาใช้สำหรับตั้งงบประมาณ
รายจ่ายเป็น 3 ระดับ คือ วงเงินสะสม นำมาจัดสรรได้ไม่เกิน ร้อยละของเงินสะสมทั้งหมด กรณีนำไปใช้เพื่อบดำเนินการ ไม่เกินร้อยละของเงินสะสมทั้งหมด 1. ต่ำกว่า 50 ล้านบาท 15 5 2. ตั้งแต่ ล้านบาท 12.5 4 3. ตั้งแต่ 300 ล้านบาท ขึ้นไป 10 3 5) กรณีที่นำเงินสะสมมาใช้เกินกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ให้ชี้แจงเหตุผล ความจำเป็นเพื่อขออนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยเป็นเฉพาะกรณี
10
งบประมาณรายจ่ายจากรายได้หน่วยงาน/หน่วยงานในกำกับ
1.6 จัดทำงบประมาณรายจ่ายตามยุทธศาสตร์ มธ. / ผลผลิต / แผนงาน / ยุทธศาสตร์การจัดทำงบประมาณ / ประเภทรายจ่าย / รายการ โดยการตั้งงบประมาณสำหรับเงินสำรองจ่ายไม่เกิน ร้อยละ 10 ของงบประมาณรายจ่ายที่หน่วยงานตั้งไว้ทั้งหมด (แบบฟอร์ม PD-B2 -5) ในปีงบประมาณ พ.ศ มีการปรับปรุงรายการงบประมาณโดยการยุบรวมรายการที่อยู่ในกลุ่มเดียวกันเป็นรายการเดียว (รายละเอียดในตารางรหัสยุทธศาสตร์การจัดทำงบประมาณ มธ.) 1.7 จัดทำแผนรายรับ และแผนรายจ่ายของหน่วยงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ (แบบฟอร์ม ตารางที่ 1 และ 2)
11
2. งบประมาณรายจ่ายจากรายได้มหาวิทยาลัย (งบพิเศษ)
สำหรับหน่วยงานในสำนักงานอธิการบดี 2.1 จัดทำคำขอตั้งงบประมาณในแบบฟอร์ม PD-BB1- 4 2.2 ไม่ต้องจัดทำแผนรายรับ และแผนรายจ่ายเนื่องจาก กองคลังเป็นผู้ดำเนินการ (รายละเอียดจะแจ้งให้ทราบภายหลัง)
12
กำหนดการจัดส่งงบประมาณ และการรายงานการใช้จ่าย
1. งบประมาณรายจ่ายจากรายได้มหาวิทยาลัย ปี เม.ย. 2556 2. งบประมาณรายจ่ายจากรายได้หน่วยงาน/หน่วยงานในกำกับ 31 พ.ค. 2556 ปี 3. แผนรายรับ-รายจ่าย งบประมาณรายจ่าย ปี พ.ค. 2556 4. งบเพิ่มเติมระหว่างปี 2557 ครั้งที่ ม.ค. 2557 ครั้งที่ พ.ค. 2557 5. รายงานรายรับจริง-รายจ่ายจริง ปี 2557 ไตรมาส ก.พ. 2557 ไตรมาส พ.ค. 2557 ไตรมาส ส.ค. 2557 ไตรมาส ต.ค. 2557
13
แบบฟอร์มงบประมาณรายจ่ายจากรายได้หน่วยงาน/หน่วยงานในกำกับ
(PD-B1 – PD-B5)
21
แบบฟอร์มแผนรายรับ และแผนรายจ่ายของหน่วยงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557
(แบบฟอร์ม ตารางที่ 1 และ 2)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.