ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยTraitod Panomyaong ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
สรุปผลการศึกษาผลตอบแทนการปลูกยางพาราในรอบปี 2555
โดย...นายประเสริฐดอยลอม นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ สำนักงานเกษตรจังหวัดน่าน
2
สรุปผลการศึกษาผลตอบแทนการปลูกยางพารา ในรอบปี 2555 จังหวัดน่าน
สรุปผลการศึกษาผลตอบแทนการปลูกยางพารา ในรอบปี จังหวัดน่าน จำนวน 51 ตัวอย่าง 4 อำเภอ (อำเภอเมืองน่าน, เวียงสา, ภูเพียง และอำเภอนาน้อย
3
จำนวนต้นและพื้นที่ปลูกต่อราย
ต่ำสุด 112 ต้น/ 2ไร่ สูงสุด 5,000 ต้น/ 66.7 ไร่ เฉลี่ย 1,203 ต้น/ ไร่
4
ปีที่กรีด ต่ำสุด กรีดเป็นปีที่ 1 สูงสุด กรีดเป็นปีที่ 10
5
ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ ผลผลิตยางแผ่นดิบ
ต่ำสุด กก./ไร่ ( 22.7ไร่ กรีดปีที่ 3 ) สูงสุด กก./ไร่ ( 8 ไร่ กรีดปีที่ 7 ) เฉลี่ย กก./ไร่
6
ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ ผลผลิตยางก้อนถ้วย
ต่ำสุด กก./ไร่ ( 3 ไร่ กรีดปีที่ 1 ) สูงสุด กก./ไร่ ( 15 ไร่ กรีดปีที่ 7 ) เฉลี่ย กก./ไร่
7
ราคาที่เกษตรกรขายได้
ยางแผ่นดิบ บาท/กก. ยางก้อนถ้วย บาท/กก.
8
รายได้สุทธิเมื่อหักค่าใช้จ่ายที่เป็นเงินสด
รายได้สุทธิต่อราย รายได้สุทธิต่อรายต่ำสุด ขาดทุน 3,661 บาท/ปี (3 ไร่ กรีดปีที่ 1) รายได้สุทธิต่อรายสูงสุด 689,400 บาท/ปี (40 ไร่ กรีดปีที่ 3) รายได้สุทธิต่อราย เฉลี่ย 204, บาท/ปี
9
รายได้สุทธิต่อไร่ รายได้สุทธิต่อไร่ เฉลี่ย 12,575.24 บาท/ปี
รายได้สุทธิต่อไร่ ต่ำสุดขาดทุน 1,220 บาท/ไร่ (3 ไร่ กรีดปีที่ 1) รายได้สุทธิต่อไร่ สูงสุด 33, บาท/ไร่ (10 ไร่ กรีดปีที่ 7) รายได้สุทธิต่อไร่ เฉลี่ย 12, บาท/ปี
10
รายได้สุทธิต่อไร่ (ผลผลิตยางก้อนถ้วย)
(อำเภอเมืองน่าน, เวียงสา, ภูเพียง) เฉลี่ย 10, บาท/ไร่ รายได้สุทธิต่อไร่ผลผลิตยางแผ่นดิบ (อำเภอนาน้อย) เฉลี่ย 14, บาท/ไร่
11
สภาพการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
ไม่เคยปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 5 ราย เคยปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 46 ราย
12
จากรายที่เคยปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
ปลูกเท่าเดิม 1 ราย 2.17% (ปลูกยางพารา 3 ไร่ กรีดปีที่ 1) ปลูกลดลง 21 ราย 45.65% เลิกปลูก ราย 52.17%
13
เพิ่มขึ้นเป็น 3.5 เท่า อภิปรายผล
. รายได้เฉลี่ยต่อไร่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (ข้อมูลพื้นฐานจัดทำ GPP ปี 2553) , บาท/ไร่/ปี เปรียบเทียบกับรายได้ เฉลี่ยต่อไร่ ยางพารา 12, บาท/ไร่/ปี เพิ่มขึ้นเป็น เท่า
14
จะมีรายได้สุทธิเพิ่มขึ้น 4,183.02 บาท/ไร่/ปี
. ถ้าเกษตรกรเปลี่ยนจากการผลิตยางก้อนถ้วย (10, บาท/ไร่/ปี) เป็นผลิตยางแผ่นดิบ (14, บาท/ไร่/ปี) จะมีรายได้สุทธิเพิ่มขึ้น 4, บาท/ไร่/ปี
15
. เกษตรกรที่มีรายได้หลักจากยางพารามีแนวโน้ม เลิกปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เลิกปลูก 52.17%, ปลูกลดลง 45.65%)
16
. ผลการศึกษาของสำนักงานเกษตรจังหวัดน่าน (2551) มีการใช้สารเคมีกำจัดวัชพืชในข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ จำนวน 854,701 ลิตร จากพื้นที่ 402,719 ไร่ หรือเฉลี่ย 2.12 ลิตรต่อไร่ ขณะที่ยางพาราเมื่อมีร่มเงาคลุมเต็มพื้นที่ (อายุ 4-5 ปี) จะไม่มีการใช้สารเคมีกำจัดวัชพืช
17
. ผลการวิจัยของศูนย์วิจัยยางฉะเชิงเทรา พบว่า พื้นที่ยางพาราช่วยดูดซับ คาร์บอนไดออกไซด์ได้ไม่น้อยกว่า 1.72 ตัน ต่อ/ไร่/ปี
18
ข้อเสนอ . ควรส่งเสริมเกษตรกรจังหวัดน่านปลูกยางพารา ทดแทนข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เพื่อ เพิ่มผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) 1.2 ลดการใช้สารเคมีบนพื้นที่สูง 1.3 เพิ่มพื้นที่สีเขียว ทดแทนเขาหัวโล้น เพิ่มการดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์
19
ข้อเสนอ . ควรส่งเสริมเกษตรกรเปลี่ยนจากการผลิต ยางก้อนถ้วย เป็นผลิตยางแผ่นดิบ (รายได้เพิ่ม 4, บาท/ไร่)
21
จบการนำเสนอ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.