ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKhattiya Sinthudecha ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
แนวทางปฎิบัติตามกฏหมายการเก็บข้อมูล ฯ (Log file)
พัฒนพงศ์ สุนทรกำจรพานิช สมาคมผู้ดูแลเว็บไทย
2
พัฒนพงศ์ สุนทรกำจรพานิช
นิติศาสตร์ , รัฐศาสตร์ รามคำแหง ใบอนุญาติทนายความ 2539 สมาคมผู้ดูแลเว็บไทย
3
ผู้ให้บริการ ผู้ให้บริการมีหน้าที่เก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ไว้ไม่น้อยกว่า 90 วัน ตามมาตรา 26 ของ พรบ
4
ผู้ให้บริการ หมายความวา
ผูใหบริการแกบุคคลอื่นในการเขาสูอินเทอรเน็ต หรือใหสามารถติดตอถึงกันโดยประการอื่น โดยผานทางระบบคอมพิวเตอร ทั้งนี้ ไมวาจะเปนการให บริการในนามของตนเอง หรือในนามหรือเพื่อประโยชนของบุคคลอื่น ผูใหบริการเก็บรักษาขอมูลคอมพิวเตอรเพื่อประโยชนของบุคคลอื่น
5
ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์
หมายความวา ขอมูลเกี่ยวกับการติดตอสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร ซึ่งแสดงถึงแหลงกําเนิด ตนทาง ปลายทาง เสนทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลาชนิดของบริการ หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการติดตอสื่อสารของระบบคอมพิวเตอรนั้น
6
ผู้ให้บริการมีกี่ประเภท
1 ผู้ให้บริการในการเข้าถึงอินเตอร์เน็ต ( มี 4 รูปแบบ ) 2 ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์
7
1 ผู้ให้บริการในการเข้าถึงอินเตอร์เน็ต
1.1 ผู้ประกอบกิจการโทรคมนาคมและกิจการกระจายภาพและเสียง ผู้ให้บริการโทรศัพท์ Fix line – Mobile ผู้ให้บริการวงจรเช่า ผู้ให้บริการ ATM ผู้ให้บริการดาวเทียม
8
1 ผู้ให้บริการในการเข้าถึงอินเตอร์เน็ต
1.2 ผู้ให้บริการเข้าถึงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต ISP ผู้ให้บริการเข้าถึงเครือข่ายในห้องพัก โรงแรม ฯลฯ ผู้ให้บริการเข้าถึงเครือข่ายในองค์กร หน่วยราชการ สถาบันการศึกษา ฯลฯ
9
1 ผู้ให้บริการในการเข้าถึงอินเตอร์เน็ต
1.3 ผู้ให้บริการระบบคอมพิวเตอร์เพื่อให้บริการโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ผู้ให้บริการ Hosting ผู้ให้บริการ FTP หรือ File Sharing ผู้ให้บริการ Mail Server ผู้ให้บริการ Data center
10
1 ผู้ให้บริการในการเข้าถึงอินเตอร์เน็ต
1.4 ผู้ให้บริการร้านอินเตอร์เน็ต ผู้ให้บริการ Internet cafe ผู้ให้บริการ Game Online cafe
11
2 ผู้ให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์
ผู้ให้บริการข้อมูลคอมพิวเตอร์ผ่าน Application ต่าง ๆ ผู้ให้บริการเว็บบอร์ต Web board, Blog ผู้ให้บริการธุรกรรมการเงินทางอินเตอร์เน็ต ผู้ให้บริการ Web services ผู้ให้บริการ e-Commerce
12
ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่เก็บจะเกิดอะไรขึ้น ?
มีความผิดตาม พรบ ว่าด้วยการกระทำความผิดทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ มีระวางโทษปรับสูงถึง 500,000 บาท ตามมาตรา 26 วรรคสาม
13
มาตรา ๒๖ ผูใหบริการตองเก็บรักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรไวไมนอยกวาเกาสิบวันนับแตวันที่ขอมูลนั้นเขาสูระบบคอมพิวเตอร แตในกรณีจําเปนพนักงานเจาหนาที่จะสั่งใหผูใหบริการผูใดเก็บรักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรไวเกินเกาสิบวันแตไมเกินหนึ่งปเปนกรณีพิเศษเฉพาะราย และเฉพาะคราวก็ได ผูใหบริการจะตองเก็บรักษาขอมูลของผูใชบริการเทาที่ จําเปนเพื่อให สามารถระบุตัวผูใชบริการนับตั้งแตเริ่มใชบริการและตองเก็บรักษาไวเปนเวลาไมนอยกวาเกาสิบวันนับตั้งแตการใชบริการสิ้นสุดลง ความในวรรคหนึ่งจะใชกับผูใหบริการประเภทใด อยางไร และเมื่อใด ใหเปนไปตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา ผูใหบริการผูใดไมปฏิบัติตามมาตรานี้ ตองระวางโทษปรับไมเกินหาแสนบาท
14
ใครบ้างที่ต้องทำหน้าที่นี้ ?
เจ้าของเว็บไซด์ (ผู้มีความรับผิดชอบโดยตรง) Webmaster ผู้ดูแล Developer ผู้พัฒนาระบบ Network Admin ผู้ดูแลระบบ
15
หน้าที่การเก็บข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์มีเงื่อนไขดังนี้
1 เก็บข้อมูลผู้ใช้บริการ และ บันทึกเข้าใช้ข้อมูล 2 กรณี Web board หรือ Blog ให้เก็บข้อมูลผู้ประกาศ 3 เวลาใน log ที่เก็บจะต้องตั้งให้ตรงกับเวลาอ้างอิงสากล 4 ที่เก็บข้อมูล (ตัว log) จะต้อง กําหนดชั้นความลับในการเข้าถึงข้อมูล 5 เก็บข้อมูล (ตัว log) ไว้เป็นเวลา 90 วัน นับตั้งแต่เกิดกิจกรรมนั้น จะเก็บยาวกว่านั้นตามที่ เจ้าพนักงานสั่ง แต่ไม่เกิน 1 ปี
16
End
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.