ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยEsmond Nash ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
การพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน เพื่อจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
(Emergency Operation Center: EOC) เพื่อจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Public Health Emergency Management : PHEM)
2
ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค (DDC’s EOC)
ต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และคณะผู้บริหารระดับสูงกระทรวงสาธารณสุข 1 ก.ย. 59
3
ยกระดับประสิทธิภาพและพัฒนาสู่ความยั่งยืน ด้านควบคุมโรคของประเทศ 2558-2562
Excellence Center ระบบควบคุม โรคและภัยสุขภาพของประเทศ DC System for National Security JIT Surveillance EOC Occupational Health Agriculture/ Industry Special Setting/Pop Point of entry /Border Health /Migrant Infectious diseases Acute/Chronic Environmental Medicine Regional Disease Control ( Public Health lab) Vaccine Security Travel Medicine Non-communicable disease Information Technology / Manpower / International Training Center International Research Center / Infrastructure / Equipment / Laboratory
4
ทุกโรคระบาด เป็น สาธารณภัย
ในขณะเดียวกันสาธารณภัยอื่นๆ ก็ย่อมส่งผลต่อสาธารณชนทั้งใน ด้านร่างกาย ชีวิต และทรัพย์สิน
5
การจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
(Public Health Emergency Management: PHEM) - การจัดทำแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข และการซ้อมแผนดังกล่าว (PHE Planning & Exercise) - การฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรจัดอยู่ในระยะเตรียมความพร้อม กระบวนและขั้นตอนการจัดการเหตุการที่ครอบคลุมทั้ง 4 ระยะ 2P2Rของภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Prevention and Mitigation, Preparedness, Response, Recovery ) 1. การดำเนินการป้องกันและลดผลกระทบ (Prevention and Mitigation) เป็นระยะที่ต้องดำเนินกิจกรรมต่างๆ ที่ช่วยลดโอกาสการเกิดเหตุการณ์ และลดผลกระทบของโรคและภัยสุขภาพที่เป็นภาวะฉุกเฉิน หรือทำให้เหตุการณ์นั้นส่งผลกระทบน้อยลง ซึ่งรวมถึงการจัดวางระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขให้มีสมรรถนะและมีขีดความสามารถ เพื่อเตรียมการเผชิญสาธารณภัยต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นการลดความรุนแรงและลดความสูญเสียจากภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข 2. การเตรียมความพร้อมรองรับภาวะฉุกเฉิน (Preparedness) เป็นระยะที่ต้องเตรียมความพร้อมและแนวทางปฏิบัติในการรับมือกับภาวะฉุกเฉินที่จะเกิดขึ้นในทุกด้านก่อนเกิดเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ได้แก่ การพัฒนาระบบเฝ้าระวัง การเตรียมศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (EOC & ICS) - การจัดทำแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข และการซ้อมแผนดังกล่าว (PHE Planning & Exercise) - การฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรเพื่อรองรับการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (PHER Training) - การจัดการและเตรียมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Information Management) - การจัดเตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ ยา วัคซีน และเวชภัณฑ์ และระบบการขนส่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (PHE Logistic) - การเตรียมระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (PHE Surveillance) - การเตรียมระบบประสานการทำงานร่วมกับเครือข่าย (PHE Networking) 3. การตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน (Response) เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องดำเนินการตามแผนจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข มีการเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินเพื่อบัญชาการเหตุการณ์ ดำเนินการติดตามเฝ้าระวังและประเมินสถานการณ์อย่างต่อเนื่อง ส่งทีมเข้าพื้นที่เพื่อให้การช่วยเหลือและบรรเทาความสูญเสียต่อสุขภาพของผู้ประสบเหตุ และดำเนินการป้องกัน ควบคุมโรคระบาด หรือผลแทรกซ้อนอื่นๆ ที่อาจเกิดขึ้นหลังการเกิดภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข และสื่อสารความเสี่ยงอย่างเหมาะสม ซึ่งในการดำเนินการจะระดมทรัพยากรที่เตรียมพร้อมไว้เพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉินร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. การฟื้นฟูหลังเกิดภาวะฉุกเฉิน (Recovery) เป็นระยะที่ความเสียหาย และความสูญเสียจากเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ได้รับการแก้ไขและบรรเทาแล้ว มีการฟื้นฟูให้พื้นที่กลับสู่ภาวะปกติ ซึ่งหลังจากดำเนินการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินแล้ว ผู้รับผิดชอบเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉินต้องเตรียมการหลังฟื้นฟู ได้แก่ - เตรียมปิดตัวสถานที่พักพิงชั่วคราวในพื้นที่ - เตรียมเปิดระบบให้บริการสุขภาพของพื้นที่ในภาวะปกติ - ประชาชนในพื้นที่เริ่มใช้ชีวิตในภาวะปกติ - ทีมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเตรียมถ่ายโอนภารกิจให้หน่วยงานที่ปกติ และเตรียมถอนตัวออกจากพื้นที่
6
ความเชื่อมโยงการจัดระดับความรุนแรง
7
ระดับภาวะฉุกเฉิน Awareness/Response ภาวะปกติ ภาวะฉุกเฉินระดับ 1
ภาวะฉุกเฉินระดับ 2 ภาวะฉุกเฉินระดับ 3 ภาวะฉุกเฉินระดับ 4 Awareness/Response การติดตามและประเมินสถานการณ์ การจัดทำแผน การสำรองเวชภัณฑ์ อุปกรณ์และเครื่องมือ การซ้อมแผน เฝ้าระวังใกล้ชิดขึ้น ทำการวิเคราะห์ Mission ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอื่นๆ พัฒนาแผนเผชิญเหตุ เตรียมพร้อมกำลังคน มีการแต่งตั้งผู้บัญชาการเหตุการณ์ และปฏิบัติงานตามโครงสร้างของระบบบัญชาการเหตุการณ์ ปฏิบัติการฉุกเฉินตามแผนเผชิญเหตุ มีการแต่งตั้งผู้บัญชาการเหตุการณ์ และปฏิบัติงานตามโครงสร้างของระบบบัญชาการเหตุการณ์ ปฏิบัติการฉุกเฉินตามแผนเผชิญเหตุ มีการแต่งตั้งผู้บัญชาการเหตุการณ์ และปฏิบัติงานตามโครงสร้างของระบบบัญชาการเหตุการณ์ ปฏิบัติการฉุกเฉินตามแผนเผชิญเหตุ กลุ่มตระหนักรู้สถานการณ์ ผู้จัดการงานตระหนักรู้สถานการณ์ ผู้จัดการศูนย์ปฏิบัติการ ผู้ปฏิบัติงานหลักในศูนย์ปฏิบัติการ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน กำกลังคนเหมือนกับภาวะปกติ แต่เพิ่ม มีการแจ้งและเพิ่มจำนวนผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านเข้ามาร่วมติดตามและประเมินสถานการณ์ กำลังคนเหมือนระดับที่ 1 บวก มีการเพิ่มกำลังคนเข้ามาในระบบบัญชาการเหตุการณ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ10 ของกำลังคนของแต่ละหน่วยงาน กำลังคนเหมือนระดับที่ 1/บวก มีการเพิ่มกำลังคนเข้ามาในระบบบัญชาการเหตุการณ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของกำลังคนของแต่ละหน่วยงาน ให้ทุกหน่วยงานหยุดการปฏิบัติงานที่ไม่ใช่งานที่สำคัญและจำเป็นต้องดำเนินการ เพื่อให้บุคลากรทั้งหมดเข้าร่วมปฏิบัติการฉุกเฉิน
8
เครือข่ายการดำเนินการของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินในแต่ละระดับ
มือ เท้า ปาก ไข้เลือดออก น้ำท่วม โรคระบาดในศูนย์พักพิง คนไข้ขาดยา ทีมส่วนหน้า ทีมส่วนหน้า ทีมส่วนหน้า ทีมส่วนหน้า ทีมส่วนหน้า สนับสนุน ช่วยเหลือ ร้องขอทรัพยากร EOC เขต/จังหวัด EOC เขต/จังหวัด EOC กรม คร. กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงอื่นๆ
9
PHEM, PHER & EOC PHEM = 2 P 2 R Prevention Preparedness EOC Recovery
Response ห้อง + อุปกรณ์ คน System PHER
10
ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินคืออะไร (Emergency Operation Center: EOC)
ห้องบัญชาการเหตุการณ์ ห้องทำงานของผู้บัญชาการเหตุการณ์ (ปฏิบัติงานเต็มเวลา) จนกว่า เหตุการณ์จะคลี่คลาย ห้อง EOC มีองค์ประกอบที่สำคัญ ดังนี้ กำลังคนที่มีสมรรถนะ ห้องและอุปกรณ์: คอมพิวเตอร์ เครื่องมือระบบสื่อสาร ฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ระบบงาน: แผน มาตรฐานการปฏิบัติการ (SOP) งบประมาณ
11
ระบบบัญชาการเหตุการณ์ฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Incident Commander System : ICS)
ผู้บัญชาการ situation ผู้บัญชาการเหตุการณ์ ฝ่ายข้อมูลและยุทธศาสตร์ SA & ยุทธศาสตร์ ภารกิจ แนวทางการปฏิบัติ การสั่งการ ข้อมูล ผู้ปฏิบัติ Operation สื่อสารความเสี่ยง Case Management PoE หน่วยสนับสนุน Stockpiling | กฎหมาย | การเงินและงบประมาณ | กำลังคน Liaison
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.