ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การสัมมนา เรื่อง “เส้นทางสู่เศรษฐกิจ 4.0”
19 ธันวาคม 2559 ณ โรงแรมโนโวเทล กรุงเทพฯ มุ่งสู่ “เศรษฐกิจ 4.0” ตามแนวทางของ แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม นายภุชพงค์ โนดไธสง รองอธิบดีกรมอุตุนิยมวิทยา รักษาราชการแทน เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ
2
Creativity + Innovation + Digital Technology
DIGITAL GOVERNMENT DIGITAL ECONOMY DIGITAL SOCIETY Creativity + Innovation + Digital Technology DIGITAL WORKFORCE 3.0 Heavy Industry Advanced Machine 2.0 Light Industry Low wages 1.0 Agriculture
3
แนวคิดการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
4
บทบาทของสำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ผู้ร่วมงาน ภายในกระทรวง (ส่วนราชการ องค์การมหาชน รัฐวิสาหกิจ) ผู้ร่วมงาน ภายนอกกระทรวง (19 กระทรวง) ภาคเอกชน / ภาคประชาชน กลไกการทำงาน (Operating Model) คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
5
วิสัยทัศน์ของแผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
6
เป้าหมายการของแผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เป้าหมาย
เป้าหมายที่ 1 เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ก้าวทันเวทีโลก เป้าหมายที่ 2 สร้างโอกาสทางสังคมอย่างเท่าเทียม เป้าหมายที่ 3 พัฒนาทุนมนุษย์สู่ยุคดิจิทัล เป้าหมายที่ 4 ปฏิรูปกระบวนทัศน์การทำงานและการให้บริการของภาครัฐ
7
ยุทธศาสตร์ 6. สร้างความ เชื่อมั่นในการใช้ เทคโนโลยีดิจิทัล
กฎระเบียบทันสมัย เชื่อมั่นในการลงทุน มีความมั่นคงปลอดภัย 1.พัฒนา โครงสร้าง พื้นฐานดิจิทัล ประสิทธิภาพ สูง ให้ ครอบคลุมทั่ว ประเทศ เข้าถึง พร้อมใช้ จ่ายได้ 5. พัฒนา กำลังคนให้พร้อม เข้าสู่ยุคเศรษฐกิจ และสังคมดิจิทัล สร้างคน สร้างงาน สร้างความเข้มแข็งจากภายใน 2. ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ด้วยเทคโนโลยี ดิจิทัล ขับเคลื่อน New S-Curve เพิ่มศักยภาพ สร้างธุรกิจ เพิ่มมูลค่า ยุทธศาสตร์ 4. ปรับเปลี่ยน ภาครัฐสู่การเป็น รัฐบาลดิจิทัล โปร่งใส อำนวย ความสะดวก รวดเร็ว เชื่อมโยง เป็นหนึ่งเดียว 3. สร้างสังคมคุณภาพ ด้วยเทคโนโลยี ดิจิทัล สร้างการมีส่วนร่วม การใช้ประโยชน์อย่างทั่วถึง และเท่าเทียม
8
ภูมิทัศน์ดิจิทัลของไทยในระยะเวลา 20 ปี
ระยะที่ 3 Digital Thailand II: Full Transformation ประเทศไทยก้าวสู่ดิจิทัลไทยแลนด์ ที่ขับเคลื่อนและใช้ประโยชน์จากนวัตกรรมดิจิทัลได้อย่างเต็มศักยภาพ ระยะที่ 1 Digital Foundation ประเทศไทยลงทุน และสร้างฐานรากในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล 1 ปี 6 เดือน 10 ปี 2560 2579 5 ปี 10 – 20 ปี ระยะที่ 2 Digital Thailand I: Inclusion ทุกภาคส่วนของประเทศไทยมีส่วนร่วมในเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลตามแนวทางประชารัฐ ระยะที่ 4 Global Digital Leadership ประเทศไทยอยู่ในกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว สามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัล สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ และคุณค่าทางสังคมอย่างยั่งยืน
9
Digital Foundation (1 ปี 6 เดือน)
การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมระยะที่ 1 Digital Foundation (1 ปี 6 เดือน) มุ่งลงทุนและสร้างฐานรากในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลเพื่อเก็บเกี่ยวผลประโยชน์ในภายหลัง ระยะนี้กระทรวงจะขับเคลื่อนแผนฯ อย่างเป็นรูปธรรมผ่านโครงการขับเคลื่อนเร่งด่วน นอกจากนี้ ในเชิงสถาบันกระทรวงจะผลักดันชุดกฎหมายที่ครอบคลุม และปฏิรูปองค์กรในการขับเคลื่อนงาน
10
(ประกาศราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2559
การผลักดันชุดกฎหมายดิจิทัล 8 ฉบับ ที่เกี่ยวข้อง ผ่านความเห็นชอบ สนช. วาระ 3 ทบทวน สนช. วาระ 2 แปรญัตติ ประกาศใช้ (ร่าง) พ.ร.บ. ว่าด้วย การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. .... (ร่าง) พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (ร่าง) พ.ร.บ. การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. .... (ผ่านความเห็นชอบ สนช. เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2559) พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 17) พ.ศ. 2559 (ประกาศราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2559 มีผลวันที่ 16 กันยายน 2559) (ร่าง) พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. …. (ร่าง) พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม (ฉบับที่ ..) พ.ศ.... (ร่าง) พ.ร.บ. สำนักงาน พัฒนาธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (ร่าง) พ.ร.บ. ว่าด้วย ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
11
พัฒนาระบบกลางรองรับ (Smart Sign-on)
การเชื่อมโยงโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล (Connectivity) Affordability Availability Access โครงการบริการอินเทอร์เน็ตสาธารณะสู่ชุมชน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพบริการอินเทอร์เน็ตไร้สาย เพื่อประโยชน์สาธารณะ (Free Wi-Fi) พัฒนาระบบกลางรองรับ (Smart Sign-on) ภายในปี 2560 10,000 จุด (ดำเนินการแล้ว 8,932 จุด)
12
โครงการยกระดับโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคม
การเชื่อมโยงโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล (Connectivity) (ต่อ) โครงการยกระดับโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคม การเชื่อมโยงโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลระหว่างประเทศ เพิ่มประสิทธิภาพโครงข่ายอินเทอร์เน็ตระหว่างประเทศ สู่การเป็นศูนย์กลางการแลกเปลี่ยนข้อมูลดิจิทัลของภูมิภาคอาเซียน (ASEAN Digital Hub) สร้างโครงข่ายสายเคเบิลใยแก้วนำแสง (Fiber Optic) พร้อม Free Wi-Fi หมู่บ้านเป้าหมายจำนวน 24,700 หมู่บ้านทั่วประเทศ
13
ศูนย์ดิจิทัลชุมชน การพัฒนาเครือข่ายศูนย์ดิจิทัลชุมชน
600 ศูนย์ ปรับศูนย์ การเรียนรู้ ICT ชุมชน และศูนย์ กศน. ตำบล สู่การเป็น ศูนย์ดิจิทัลชุมชน 1,631 ศูนย์ ผู้บริหาร ดิจิทัลชุมชนยุคใหม่ 1,200 คน ส่งเสริมให้เกิด ระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ Village e-Commerce Digital Farmer 1,600 คน เตรียมความพร้อมบุคลากร ครู ก ข ค 9,434 คน ส่งเสริม และพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ 4,500 ร้านค้า พัฒนาระบบ Village e-Commerce
14
การส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในภาคธุรกิจ SMEs และธุรกิจเกิดใหม่
ส่งเสริมธุรกิจดิจิทัลเกิดใหม่ (Tech Startup) ส่งเสริมการสร้างสภาพแวดล้อม (Ecosystem) B2B e-Business Platform (ของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย) ระบบ e-Directory “Thai e-Market.com” Co-investment Co-fund ส่งเสริมให้เกิดบริษัท Startup เพิ่มศักยภาพให้กับ SMEs ตั้ง Center ในระดับภูมิภาค ศึกษาแนวทางการเชื่อมโยงข้อมูลสินค้าและกระบวนการตรวจสอบย้อนกลับสินค้า (Traceability) พัฒนาฐานข้อมูล และข้อมูลเพื่อทำมาตรฐานสินค้าด้วยมาตรฐานสากล (UNSPSC) พัฒนาระบบการออกใบกำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์ E-Tax Invoice พัฒนาระบบ และเชื่อมโยงระบบการออกใบรับรองและใบอนุญาตทางอิเล็กทรอนิกส์ B2C
15
การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ร่วมกันพัฒนาจังหวัดภูเก็ตเป็นจังหวัดตัวอย่างของการทำ Smart City เพื่อเป็นแนวทางสำหรับการดำเนินการในจังหวัดอื่นๆ การพัฒนาระบบ Smart living Community ให้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงสาธารณะ Smart City ดึงดูดการลงทุนและสร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน (Smart Growth)
16
สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.