งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บเน้นทักษะการปฏิบัติงาน เรื่อง การใช้ระบบงานครูผู้สอนของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ The Development of Web-Based Instruction on practical skills use of the system work instructor of siam business administration nonthaburi technological college using the teaching skills of harrow นายนพรัตน์ วินิชาคม วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี

2 รายละเอียด วัตถุประสงค์ของการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ผลวิเคราะห์/ตารางที่สำคัญ สรุปผลการวิจัย ข้อเสนอแนะ ปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทเป็นอย่างมากในการดำเนินงานในองค์ต่างๆ งานซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์เป็นงานที่มีความจำเป็น ซึ่งการนำระบบเข้ามาใช้ในการบริหารจัดการงานซ่อมบำรุงจะทำให้งานมีประสิทธิภาพจะสามารถลดความเสียหาย และช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายโดยไม่จำเป็นได้อย่างมาก วิทยาลัยฯได้นำคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในการดำเนินกิจกรรมขององค์กรทั้งหมด ทั้งด้านการเรียนการสอนและด้านสารสนเทศ

3 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1.เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่อง การใช้ระบบงานครูผู้สอนที่พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บที่เน้นทักษะการปฏิบัติงาน โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ 2.เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บที่เน้นทักษะการปฏิบัติงาน เรื่อง การใช้ระบบงานครูผู้สอน โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ ปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทเป็นอย่างมากในการดำเนินงานในองค์ต่างๆ งานซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์เป็นงานที่มีความจำเป็น ซึ่งการนำระบบเข้ามาใช้ในการบริหารจัดการงานซ่อมบำรุงจะทำให้งานมีประสิทธิภาพจะสามารถลดความเสียหาย และช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายโดยไม่จำเป็นได้อย่างมาก วิทยาลัยฯได้นำคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในการดำเนินกิจกรรมขององค์กรทั้งหมด ทั้งด้านการเรียนการสอนและด้านสารสนเทศ

4 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
1. ประชากร คือ ครูอาจารย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ปีการศึกษา 2557 มีทั้งหมด คน 2.กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูอาจารย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ปีการศึกษา 2557 ที่ได้จากตาราง กำหนดกลุ่มตัวอย่างของเครซี่และมอร์แกน ได้กำหนดจำนวนขั้นต่ำ 59 คน

5 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์
1. ทฤษฎี / หลักการ /แนวคิดของรูปแบบ 2. วัตถุประสงค์ของรูปแบบ 3. กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ ขั้นที่ 1 ขั้นการเลียนแบบ ขั้นที่ 2 ขั้นการลงมือกระทำตามคำสั่ง ขั้นที่ 3 ขั้นการกระทำที่ถูกต้องสมบูรณ์ (Precision) ขั้นที่ 4 ขั้นการแสดงออก (Articulation) 4. ผลที่ผู้เรียนจะได้รับจากการเรียนตามรูปแบบ ดังนั้นเพิ่มการเพิ่มสมรรถนะทางด้านบริหารจัดการ ผู้วิจัยจึงพัฒนาระบบเพื่อการจัดการงานซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์ ที่จะช่วยให้จัดการข้อมูลที่เป็นระบบ และช่วยจัดลำดับการบริการของงานซ่อมในการให้บริการ โดยใช้เทคนิคแบบอิงกฎเกณฑ์ (Rule Based) มาเป็นเครื่องมือในการช่วยพัฒนา โดยมีผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้กำหนดกฎ โดยจะมาเอกสารที่มีอยู่และจากผู้เชี่ยวชาญด้านแก้ปัญหา รวมทั้งการออกแบบเว็บไซต์ให้สามารถรองรับการทำงานบนหน้าจออุปกรณ์ต่างๆได้และสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

6 วิธีการดำเนินการวิจัย

7 ผลวิเคราะห์/ตารางที่สำคัญ
1.ผลการประเมินผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาของบทเรียนที่พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บ 2. ผลการประเมินผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิคของบทเรียนที่พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บ รายการประเมิน ระดับความคิดเห็น คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 ค่าเฉลี่ย S.D. การแปลความหมาย เฉลี่ยรวม 5 4.86 4.95 0.08 ดีมาก รายการประเมิน ระดับความคิดเห็น คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 ค่าเฉลี่ย S.D. การแปลความหมาย เฉลี่ยรวม 4.4 4.2 3.6 4.07 0.42 ดี

8 ผลวิเคราะห์/ตารางที่สำคัญ
3. รายการประเมิน ระดับความคิดเห็น คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 ค่าเฉลี่ย S.D. การแปลความหมาย เฉลี่ยรวม 5 4.86 4.95 0.08 ดีมาก รายการประเมิน ระดับความคิดเห็น คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 ค่าเฉลี่ย S.D. การแปลความหมาย เฉลี่ยรวม 4.4 4.2 3.6 4.07 0.42 ดี

9 ผลวิเคราะห์/ตารางที่สำคัญ
3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่อง ระบบงานผู้สอน ที่พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บที่เน้นทักษะการปฏิบัติงาน โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ กลุ่มตัวอย่าง จำนวนผู้ทำแบบทดสอบ (คน) คะแนน รวม 𝐗 คะแนนก่อนเรียน (Pretest) 59 18.85 คะแนนหลังเรียน (Posttest) 30.08 Z-test = 1.64 Z-table = 0.495

10 ผลวิเคราะห์/ตารางที่สำคัญ แบบสอบถามความพึงพอใจ
4. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บที่เน้นทักษะการปฏิบัติงาน เรื่อง การใช้ระบบงานครูผู้สอน โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ แบบสอบถามความพึงพอใจ 𝐗 𝐒.𝐃. ระดับความพึงพอใจ โดยรวม 4.72 0.48 มากที่สุด

11 สรุปผล และ ข้อเสนอแนะ สรุปผล :จากการวิจัยเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บเน้นทักษะการปฏิบัติงาน เรื่อง ระบบงานครูผู้สอน โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ ของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี สรุปผลการวิจัยได้ดังนี้ 1.ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่อง ระบบงานครูผู้สอน ที่พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บเน้นทักษะการปฏิบัติงาน โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ สรุปได้ว่า คะแนนแบบทดสอบหลังเรียนสูงกว่าคะแนนคะแนนแบบทดสอบก่อนเรียน 2.ผลจากแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บที่เน้นทักษะการปฏิบัติงาน เรื่อง ระบบงานครูผู้สอน โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ สรุปได้ว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด

12 สรุปผล และ ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะ : 1. ข้อเสนอแนะก่อนการนำไปใช้
บทเรียนที่พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บ เรื่อง ระบบงานครูผู้สอน ที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้น เป็นสื่อช่วยสอนหรือสื่อประกอบการสอนรูปแบบหนึ่ง ที่ช่วยในการเรียนการสอนดำเนินไปด้วยความสะดวกขึ้น ดังนั้น จึงควรใช้สื่อนี้ประกอบการอบรม เพื่อให้ผู้เรียนรู้มีความเข้าใจยิ่งขึ้น 2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป ควรสนับสนุนให้มีการผลิตสื่อการเรียนการสอน และพัฒนาบทเรียนการสอนผ่านเว็บในเรื่องอื่นๆ เช่น ระบบงานฝ่ายพัฒนาผู้เรียน-รูดบัตร

13


ดาวน์โหลด ppt วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google