ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPetra Fodor ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ประเภทที่ 1 วิจัยการเรียนการสอน (วิจัยชั้นเรียน) การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องลักษณะสัญญายืม วิชากฎหมายพาณิชย์ สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ นางอัชฌา เพ็งพินิจ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ อ.ศุภพล มงคลเจริญพันธ์
2
ปัญหาในการวิจัย 1. ปัญหาในการเรียนจะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนเข้าชั้นเรียนไม่ทัน หรือหยุดเรียนทำให้การเรียนรู้ไม่ต่อเนื่อง 2. เป็นการยากที่ผู้สอนจะย้อนกลับมา บรรยายในหัวข้อเดิมที่ผ่าน ไปแล้วซึ่งผู้เรียนก็ไม่มีความกระตือรือร้นในการที่จะกลับไปอ่านทบทวน 3. นักศึกษายังขาดความใส่ใจ ความใฝ่รู้ใฝ่เรียน ขาดทักษะในการตีความตัวบทกฎหมาย และไม่มีคำถามกลับมาถามผู้สอน 4. ผลทำให้ผู้เรียนมีผลการเรียนตกต่ำ เนื่องจากไม่ได้ศึกษาเรียนรู้ ทำให้ไม่รู้ไม่เข้าใจ อ.ศุภพล มงคลเจริญพันธ์
3
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เรื่องลักษณะสัญญายืม วิชากฎหมายพาณิชย์ สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 3 ให้มีประสิทธิภาพ 80/80 2. ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องลักษณะสัญญายืม วิชากฎหมายพาณิชย์ สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 3 ที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 3. เพื่อหาความพึงพอใจของนักศึกษาและหาประสิทธิภาพของเครื่องมือทางการวิจัยโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน รายวิชากลยุทธ์การตลาด ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 อ.ศุภพล มงคลเจริญพันธ์
4
วิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ
อ.ศุภพล มงคลเจริญพันธ์
5
วิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ (ต่อ)
อ.ศุภพล มงคลเจริญพันธ์
6
สรุปผลงานวิจัย 1. การสร้างและการหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องลักษณะสัญญายืม วิชากฎหมายพาณิชย์ พบว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีความเหมาะสมซึ่งมีค่าดัชนีความสอคล้อง (IOC) อยู่ระหว่าง 0.60 – และจากการนำบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ไปทดลองใช้กับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 จำนวน 15 คน พบว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีประสิทธิภาพ เท่ากับ 86.33/ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 Supapol M. อ.ศุภพล มงคลเจริญพันธ์
7
สรุปผลงานวิจัย (ต่อ) 2. การทดลองสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนพบว่า 2.1 นักศึกษามีคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ มีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ และเมื่อทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย พบว่านักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.2 ความพึงพอใจของนักศึกษาหลังการเรียนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน พบว่ามีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก Supapol M.
8
เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ทดสอบการเรียนรู้ เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน Supapol M.
9
จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ
Supapol M. อ.ศุภพล มงคลเจริญพันธ์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.