งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาเชิงพื้นที่และระดับอุดมศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาเชิงพื้นที่และระดับอุดมศึกษา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาเชิงพื้นที่และระดับอุดมศึกษา
เฉลิมพงษ์ คงเจริญ คณะเศรษฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ 28 มิถุนายน 2561

2 สัดส่วนของประชากรที่อยู่ในโรงเรียนแยกตามกลุ่มอายุ
ช่วงอายุ ไม่ได้อยู่ใน โรงเรียน อยู่ในโรงเรียน 6-11 ปี 0.6% 99.4% 12-14 ปี 3.0% 97.0% 15-17 ปี 21.5% 78.5% 18-21 ปี 58.6% 41.4% ที่มา: ผู้เขียนคำนวณจาก SES 2554

3 ความเหลื่อมล้ำในเชิงพื้นที่
สัดส่วนของเด็กอายุ ปี ที่อยู่ในโรงเรียน SES ปี 2535 2543 2554 กรุงเทพ 60.89 77.99 81.59 ไม่ใช่กรุงเทพ 47.16 77.72 79.76 ทั้งประเทศ 49.98 77.74 79.85 เมือง 60.78 80.33 82.28 ชนบท 35.61 73.85 76.71

4 การศึกษาความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษาระดับมัธยมศึกษา มุมมองในเชิงพื้นที่
เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีกำหนดความแตกต่างระหว่าง การคงอยู่ในระบบการศึกษาของประชากรอายุ ระหว่าง ปี เปรียบเทียบในกรณีกรุงเทพ และต่างจังหวัด และระหว่างเมืองกับชนบท

5 ทบทวนวรรณกรรม ลักษณะของครัวเรือนเป็นปัจจัยสำคัญในการตัดสินใจด้านการศึกษา รายได้ของครัวเรือน การศึกษาของพ่อแม่ จำนวนผู้ใหญ่ในครัวเรือน จำนวนของเด็กในครัวเรือน ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านทรัพยากรด้านการศึกษา

6 ข้อมูลที่ใช้ SES 2011 (2554) กลุ่มเป้าหมายของการศึกษา ประชากรอายุ ปี มีสถานะเป็นลูก หลาน ของหัวหน้าครอบครัว

7 ข้อมูลสถิติเบื้องต้น

8 ผลการศึกษา (เปรียบเทียบกรุงเทพและต่างจังหวัด)
ผลการประมาณค่าแบบจำลอง Logit

9 ผลการศึกษา (เปรียบเทียบกรุงเทพและต่างจังหวัด)
Nonlinear Decomposition

10 ผลการศึกษา (เปรียบเทียบเมืองและชนบท)

11 ผลการศึกษา (เปรียบเทียบเมืองและชนบท)

12 ความเหลื่อมล้ำในโอกาสการศึกษาระดับอุดมศึกษา

13 การจบการศึกษาระดับปริญญาตรีส่งผลให้เงินเดือนที่ได้รับเพิ่มขึ้นประมาณ 2 เท่าจากระดับมัธยมศึกษา
ที่มา: คำนวณจาก LFS 2558 (เงินเดือนของแรงงานที่มีอายุระหว่าง ปี,หน่วยบาทต่อเดือน)

14 ความแตกต่างระหว่างเงินเดือนของบัณฑิตที่จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยในส่วนกลาง (B) กับภูมิภาค (A)
ที่มา: (เงินเดือนเฉลี่ยปี 2559)

15 ใครจะมีโอกาสเข้าเรียนในมหาวิทยาลัย B?

16 จังหวัดที่คะแนนสูง จะมีจำนวนนักศึกษาในมหาวิทยาลัย B เพิ่ม
ที่มา: สศช., ข้อมูลรายจังหวัด

17 จังหวัดที่มีรายได้สูง ส่งผลให้คะแนน ONET เฉลี่ยของจังหวัดสูงด้วย (นักเรียนในครัวเรือนรายได้สูงย่อมคะแนนสอบสูง) ที่มา: สศช., ข้อมูลรายจังหวัด ปี 2558

18 จำนวนนักศึกษา(ปรับด้วยจำนวนประชากร)ในมหาวิทยาลัย B จากจังหวัดต่าง ๆ แปรผันตามรายได้เฉลี่ยของจังหวัด
ที่มา: สศช., ข้อมูลรายจังหวัด ปี 2558

19 มหาวิทยาลัยในส่วนกลาง (B,C, มธ
สัดส่วนของนักศึกษาที่บิดาที่มีรายได้น้อยกว่า 150,000 บาท  เงินเดือนของบิดาเฉลี่ย มหาวิทยาลัย C 11.2% 30,570 มหาวิทยาลัย B 20.8% 26,261 มหาวิทยาลัย B (วิทยาเขต1) 36.5% 21,573 มหาวิทยาลัย B (วิทยาเขต2) 26.3% 24,495 ธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์) 19.5% 26,169 ธรรมศาสตร์ (รังสิต) 24.3% 24,106 มหาวิทยาลัย A 46.8% 16,824 มหาวิทยาลัยกลุ่ม ก 65.8% 12,410 มหาวิทยาลัยกลุ่ม ข 71.8% 11,437 ที่มา: นักศึกษาปีการศึกษา 2556

20 ความเหลื่อมล้ำในการรับเข้าการศึกษามหาวิทยาลัย
การศึกษาระดับอุดมศึกษามีส่วนที่ช่วยผลิตซ้ำความเหลื่อมล้ำ ทางรายได้ และการศึกษา โอกาสในการเข้าศึกษา (สอบเข้า) ระบบการรับเข้าที่ผ่านมา และปัจจุบันที่ให้น้ำหนักกับผลการสอบ มิได้ส่งเสริมให้ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาลดลง TCAS มิได้ช่วยลดความเหลื่อมล้ำ เนื่องจากต้นทุนในการสอบที่ ลดลงเกิดขึ้นกับทั้งนักเรียนจากครัวเรือนในกลุ่มรายได้สูงและรายได้ ต่ำ Affirmative Action จากฐานของรายได้ ความสามารถในการเรียนในระดับอุดมศึกษา (ค่าเล่าเรียน ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ)

21 การรับเข้านักศึกษาใหม่ของธรรมศาสตร์


ดาวน์โหลด ppt ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาเชิงพื้นที่และระดับอุดมศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google