ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ นพ.ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ ประธานคณะกรรมการกำหนดแผนและติดตามผลการตรวจราชการ 28 พฤศจิกายน 2560
2
กรมวิชาการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กรมการแพทย์ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก สปค. กองบริหารการสาธารณสุข กรมควบคุมโรค สำนักตรวจราชการกระทรวง กองตรวจราชการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมสุขภาพจิต
3
ยุทธศาสตร์ที่ 2. ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence) แผนงานที่ 5 ,6,7,8,9
4
ยุทธศาสตร์ที่ 2. ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence) แผนงานที่ 5 ,6,7,8,9
5
ยุทธศาสตร์ที่ 2. ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence) แผนงานที่ 5 ,6,7,8,9
6
KPI Inspection PA Guide line
มีประเด็นการตรวจราชการ มีมาตรการดำเนินงาน มีSmall Success ชัดเจน PA Guide line กำหนดเป็นนโยบายสำคัญ ไม่เป็นโครงการ ที่อยู่ในระยะเริ่มต้น KPI Inspection หลักเกณฑ์การพิจารณาประเด็นตัวชี้วัดสำหรับการตรวจราชการ คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
7
ขอบเขตประเด็น KPI และการพิจารณา
8
ขอบเขตประเด็น KPI และการพิจารณา
9
ขอบเขตประเด็น KPI และการพิจารณา
10
10
ประเด็น KPI ที่ตรวจราชการ
11
ประเด็น KPI ที่ Monitor ระบบข้อมูล
10 จาก
12
สรุปประเด็นและKPI คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
MONTITOR 2 ประเด็นหลัก 16 KPI 2 -Health Outcome 6 KPI -Service Outcome 10 KPI INSPECTION 4 ประเด็นหลัก 14 KPI 1 -พัฒนาระบบปฐมภูมิ 1 KPI -ประเด็นนโยบายสำคัญ 3 KPI -Health Outcome 3 KPI -Service Outcome 7 KPI
13
คณะที่ 2 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
KPI- INSPECTION กบรส 1 KPI แพทย์แผนไทยฯ 2 KPI อย. กบรส กรมวิทย์ฯ ร่วมกัน 1 KPI กรมการแพทย์ 8 KPI สปค.1 KPI กรมควบคุมโรค 1 KPI ผู้นิเทศงาน คณะที่ 2 จำนวนผู้นิเทศงานประมาณ 8-12 คน
14
KPI สำหรับตรวจราชการ 01 02 03 04 KPI… ต้องทำ อะไรบ้าง?
กรม/สำนัก ชี้แจง สื่อสาร ทำความเข้าใจกับผู้นิเทศงานในประเด็นการจตรวจราชการที่รับผิดชอบ พร้อมเตรียมข้อมูลก่อนการตรวจราชการ มอบหมายผู้นิเทศงานเข้าร่วมตรวจราชการตามที่แต่ละเขตสุขภาพกำหนด ผู้นิเทศงานวิเคราะห์ข้อมูล และนิเทศงานตามประเด็นและ KPI ที่รับผิดชอบ และตามที่Inspection Guideline แต่ละ KPI กำหนดไว้ รายงานผลการตรวจราชการตามแบบฟอร์ม ตก.1และ ตก.2 รายจังหวัด รายเขต รายรอบ ที่แนวทางการตรวจราชการ ของกองตรวจราชการได้กำหนดไว้ ต้องทำ อะไรบ้าง?
15
75% KPI สำหรับMonitor ผู้รับผิดชอบกรม/สำนัก วิเคราะห์ข้อมูลรายเขต/จังหวัด 1 40 80 120 160 200 240 9 MPH 2 Monitor โดยระบบข้อมูล และช่องทาง ตามที่ KPI นั้นกำหนด/ Central Cockpit 3 กรณีพบปัญหารายเขต/จังหวัด สามารถนำเข้าสู่การตรวจราชการ 10% 4 การรายงานผล ตามที่ Template KPI นั้นๆกำหนด
16
ตัวอย่าง KPI ตรวจราชการ (บางส่วน)
ประเด็นการตรวจราชการที่สำคัญ มาตรการการดำเนินงานในพื้นที่ แนวทางการตรวจติดตาม Small Success รายละเอียดจะอยู่ในเล่มแผนการตรวจราชการประจำปี 2561
17
การส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตสุขภาพลดลง
แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบส่งต่อ) 1. ศูนย์ประสานการส่งต่อ (ศสต.) ระดับจังหวัด/เขตสุขภาพ 2. ประเด็นการตรวจราชการ การใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการส่งต่อผู้ป่วย การพัฒนาฐานข้อมูลและระบบรายงานการส่งต่อผู้ป่วย 3.
18
การส่งต่อนอกเขตสุขภาพ
- แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบส่งต่อระดับจังหวัด และระดับเขตสุขภาพ - มีการจัดทำแผนพัฒนาระบบส่งต่อที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่/แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) - มีแผนการลดการส่งต่อออกนอกเขตสุขภาพที่สอดคล้องกับกับบริบทพื้นที่/แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) ลดการส่งต่อออกนอกเขตสุขภาพ. 1 2 แนวทางตรวจ ติดตาม มาตรการในพื้นที่ เป้าหมาย ผลลัพธ์ที่ต้องการ การส่งต่อนอกเขตสุขภาพ - มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบส่งต่อระดับจังหวัด และระดับเขตสุขภาพ - มีการกำหนดเครือข่ายการ ส่งต่อในระดับจังหวัดและระดับเขตสุขภาพ - มีคู่มือ/แนวทางในการส่งต่อผู้ป่วย. - คำสั่งคณะกรรมการพัฒนาระบบส่งต่อระดับจังหวัด และระดับเขตสุขภาพ - มีแผนการดำเนินการ การพัฒนาระบบส่งต่อในสถานบริการ/จังหวัด/เขตสุขภาพ - การลดการส่งต่อผู้ป่วยออกนอกเขตสุขภาพร้อยละ 10 ต่อปี 3 4 คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ตัวชี้วัด ร้อยละการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตสุขภาพลดลง
19
การส่งต่อนอกเขตสุขภาพ
ศูนย์ประสานการส่งต่อ (ศสต.) ระดับจังหวัด/เขตสุขภาพ 2. - จัดตั้งศูนย์ประสานการส่งต่อ (ศสต.) ระดับจังหวัด/ เขตสุขภาพ - มีระบบการให้คำปรึกษาระหว่างแพทย์ผู้เชี่ยวชาญสาขาต่าง ๆ - มีระบบการประสานงานการส่งต่อผู้ป่วย ลดการส่งต่อออกนอกเขตสุขภาพ. 1 2 แนวทางตรวจ ติดตาม มาตรการในพื้นที่ เป้าหมาย ผลลัพธ์ที่ต้องการ - การเยี่ยมติดตามการดำเนินงานศูนย์ประสานการส่งต่อ (ศสต.) - แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยภายในจังหวัดและเขตสุขภาพที่เชื่อมโยงกับสถานบริการทุกระดับ - มีแนวทางการให้คำปรึกษาระหว่างแพทย์ผู้เชี่ยวชาญสาขา ต่างๆ ภายในจังหวัดและเขตสุขภาพ - มีช่องทางการติดต่อสื่อสาร การให้คำปรึกษาทั้งก่อนส่งต่อ ขณะส่งต่อระหว่างสถานบริการผ่านทางโทรศัพท์ ระบบ line หรือทาง E - mail การส่งต่อนอกเขตสุขภาพ - มีศูนย์ประสานการส่งต่อ (ศสต.)ระดับจังหวัด/เขตสุขภาพ - มีเครือข่าย/ผังกำกับในการให้บริการรับ-ส่งต่อผู้ป่วยและรับกลับรวมถึงข้อตกลงในการดำเนินการอย่างชัดเจน - มีช่องทางการติดต่อสื่อสารการให้คำปรึกษาในการส่งต่อผู้ป่วย - ลดการปฏิเสธการรับส่งต่อผู้ป่วย 3 4 คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ตัวชี้วัด ร้อยละการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตสุขภาพลดลง
20
การส่งต่อนอกเขตสุขภาพ
การใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการส่งต่อผู้ป่วย การพัฒนาฐานข้อมูลและระบบรายงานการส่งต่อผู้ป่วย 3. - มีการพัฒนาฐานข้อมูลและระบบรายงานการส่งต่อผู้ป่วย - มีโปรแกรมการส่งต่อผู้ป่วยระหว่างสถานบริการในจังหวัด/เขตสุขภาพ/ส่วนกลาง ลดการส่งต่อออกนอกเขตสุขภาพ. 1 2 แนวทางตรวจ ติดตาม มาตรการในพื้นที่ เป้าหมาย ผลลัพธ์ที่ต้องการ การส่งต่อนอกเขตสุขภาพ - การจัดทำฐานข้อมูลและระบบรายงานการส่งต่อผู้ป่วยที่เชื่อมโยงในระดับจังหวัด/ เขตสุขภาพ - มีการวิเคราะห์ข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วย เพื่อนำมาใช้ในการวางแผนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) - มีการจัดเก็บข้อมูล/รายงานผลการส่งต่อผู้ป่วยเชื่อมโยงระบบสารสนเทศการส่งต่อกับส่วนกลาง (nRefer และ Health Data Center) 3 4 คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ตัวชี้วัด ร้อยละการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตสุขภาพลดลง
21
การส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตสุขภาพ
Small Success 3 เดือน - มีคำสั่งคณะกรรมการพัฒนาระบบส่งต่อระดับจังหวัด และระดับเขตสุขภาพ - มีศูนย์ประสานการ ส่งต่อ (ศสต.) ระดับจังหวัด/เขตสุขภาพ 6 เดือน - มีแนวทางการพัฒนาระบบส่งต่อผู้ป่วย - มีการจัดทำเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญและจัดทำระบบการส่งต่อ สาขาที่มีการส่งต่อผู้ป่วยจำนวนมาก และเป็นปัญหาของจังหวัด/เขต SMALL SUCCESS การส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตสุขภาพ 9 เดือน - มีการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการส่งต่อผู้ป่วยและการจัดทำระบบข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วยสาขาที่เป็นปัญหา เพื่อใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์ข้อมูลและแก้ไขปัญหา สุขภาพ 12 เดือน - มีการติดตามผลและวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน การส่งต่อผู้ป่วยระดับจังหวัด/เขตเพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาในเครือข่าย - มีการสรุปและรายงานผลการส่งต่อผู้ป่วยระดับจังหวัด/เขตสุขภาพ คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ตัวชี้วัด ร้อยละการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตสุขภาพลดลง
22
KPI ตรวจราชการ ประเด็น การตรวจราชการ
อัตราการเสียชีวิตของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉิน ภายใน 24 ชั่วโมง ในโรงพยาบาล ระดับ F2 ขึ้นไป (ทั้งที่ ER และ Admit) การลดภาวะห้องฉุกเฉินแออัด (Emergency Department Crowding) ประเด็น การตรวจราชการ การพัฒนาคุณภาพการรักษาโดยใช้ ER Safety Goals การพัฒนาข้อมูลและระบบสารสนเทศห้องฉุกเฉิน คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ตัวชี้วัด อัตราเสียชีวิตของผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินฯ
23
ประเด็นการตรวจราชการ
1.การลดภาวะห้องฉุกเฉินแออัด (Emergency Department Crowding) เป้าหมาย มาตรการดำเนินการในพื้นที่ แนวทางการตรวจติดตาม ผลลัพธ์ที่ต้องการ 1. มีมาตรการในการลดภาวะห้องฉุกเฉินแออัดระดับโรงพยาบาล -กำหนดนโยบายการลดความแออัดในห้องฉุกเฉิน -ตั้งคณะกรรมการพัฒนาห้องฉุกเฉินคุณภาพ -ประเมินเกณฑ์ ECS คุณภาพ -มีมาตรการลดผู้ป่วยไม่ฉุกเฉินที่มาใช้บริการห้องฉุกเฉิน -มีการกำหนดระยะเวลาที่ผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤตอยู่ในห้องฉุกเฉินไม่เกิน 2 ชั่วโมง -คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาห้องฉุกเฉินคุณภาพ -นำเสนอผลการประเมินเกณฑ์ ECS คุณภาพ -เอกสารแผนในการพัฒนาห้องฉุกเฉินที่คลอบคลุมทั้งแผนดำเนินงาน แผนพัฒนาบุคลากร แผนครุภัณฑ์ -แสดงสถิติบริการแยกตามระดับคัดแยก -นำเสนอการลดภาวะผู้ป่วยไม่ฉุกเฉินที่มาใช้บริการห้องฉุกเฉิน -นำเสนอการกำหนดระยะเวลาผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตอยู่ในห้องฉุกเฉินไม่เกิน 2- 4 ชั่วโมง -ร้อยละ 70 ของโรงพยาบาลตั้งแต่ F2 ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์ ECS คุณภาพ -ร้อยละ 80 ของโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไปมีแนวทางในการลดภาวะห้องฉุกเฉินแออัด -ร้อยละ 60 ของผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤตอยู่ในห้องฉุกเฉินน้อยกว่า 2 ชั่วโมง คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ตัวชี้วัด อัตราเสียชีวิตของผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินฯ
24
ประเด็นการตรวจราชการ
2. การพัฒนาคุณภาพการรักษาโดยใช้ ER Safety Goals เป้าหมาย มาตรการดำเนินการในพื้นที่ แนวทางการตรวจติดตาม ผลลัพธ์ที่ต้องการ 1. มีการใช้ ER Safety Goals เป็นเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพการรักษา -จัดทำ Gap Analysis และ Action Plan เพื่อพัฒนาคุณภาพการรักษา -มีการทบทวนและวิเคราะห์สาเหตุการเสียชีวิต(RCA) ของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉินที่เสียชีวิตภายใน 24 ชั่วโมง, -มีการคัดแยก (Triage) 5 ระดับที่ได้มาตรฐาน -มีการประเมินความเสี่ยงการจัดการสาธารณภัยในโรงพยาบาล (Hospital Safety Index) -เอกสารการจัดทำ Gap Analysis และ Action Plan -นำเสนอสถิติโรคที่เสียชีวิตและสถิติสาเหตุการเสียชีวิต -มีการใช้เกณฑ์การคัดแยก 5 ระดับ -นำเสนอการประเมินความเสี่ยงการจัดการสาธารณภัยในโรงพยาบาล (Hospital Safety Index) -อัตราการเสียชีวิตผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉินภายใน 24 ชั่วโมงโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป < 12% -ร้อยละ 80 ของโรงพยาบาลตั้งแต่ F2 ขึ้นไปที่ประเมิน Hospital Safety Index และจัดทำแผน คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ตัวชี้วัด อัตราเสียชีวิตของผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินฯ
25
ประเด็นการตรวจราชการ
3. การพัฒนาข้อมูลและระบบสารสนเทศห้องฉุกเฉิน เป้าหมาย มาตรการดำเนินการในพื้นที่ แนวทางการตรวจติดตาม ผลลัพธ์ที่ต้องการ 1. มี TEA unit ที่ได้มาตรฐาน -ทำ Gap Analysis และพัฒนาเพื่อให้มี TEA unit ที่เป็นมาตรฐาน -ส่งข้อมูลแฟ้ม ACCIDENT อย่างครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา -นำเสนอการดำเนินงาน TEA unit มาตรฐาน -นำเสนอการส่งข้อมูลแฟ้ม ACCIDENT คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ตัวชี้วัด อัตราเสียชีวิตของผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินฯ
26
Small Success รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน 1.ระบบข้อมูล
-มี National Triage -จัดทำคู่มือ ER คุณภาพ และความปลอดภัย(ER Safety Goals) -ปรับปรุงเกณฑ์ประเมินคุณภาพระบบการรักษาพยาบาลฉุกเฉิน (ECS) -จัดทำมาตรฐานข้อมูลห้องฉุกเฉิน -สื่อสารนโยบายและการดำเนินงานพัฒนาห้องฉุกเฉิน 1.การลดความแออัดในห้องฉุกเฉิน -ร้อยละ 40 ของโรงพยาบาลระดับ F2 มีมาตรการการลดผู้ป่วยไม่ฉุกเฉินที่มาใช้บริการห้องฉุกเฉิน -ร้อยละ 30 ของผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤตในโรงพยาบาลระดับ M1 ขึ้นไปอยู่ในห้องฉุกเฉินไม่เกิน 2-4 ชั่วโมง 2. การพัฒนาคุณภาพการรักษาโดยใช้ ER Safety Goals -ร้อยละ 40 ของโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไปใช้ National Triage -ร้อยละ 60 ของโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไปมีการทบทวนและวิเคราะห์สาเหตุการเสียชีวิตภายใน 24 ชั่วโมง -ร้อยละ 40 ของโรงพยาบาลตั้งแต่ F2 ขึ้นไปที่ประเมิน Hospital Safety Index 3. การพัฒนาข้อมูล -ร้อยละ 40 ของโรงพยาบาลระดับ M1 ขึ้นไป มี TEA unit ที่ได้มาตรฐาน -ร้อยละ 40 ของโรงพยาบาลตั้งแต่ F2 ขึ้นไปส่งข้อมูลแฟ้ม ACCIDENT คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ตัวชี้วัด อัตราเสียชีวิตของผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินฯ
27
Small Success รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน
1. การลดความแออัดในห้องฉุกเฉิน -ร้อยละ 60 ของโรงพยาบาลระดับ F2 มีมาตรการการลดผู้ป่วยไม่ฉุกเฉินที่มาใช้บริการห้องฉุกเฉิน -ร้อยละ 50 ของผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤตในโรงพยาบาลระดับ M1 ขึ้นไปอยู่ในห้องฉุกเฉินไม่เกิน 2-4 ชั่วโมง 2. การพัฒนาคุณภาพการรักษาโดยใช้ ER Safety Goals -ร้อยละ 60 ของโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไปใช้ National Triage -ร้อยละ 80 ของโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไปมีการทบทวนและวิเคราะห์สาเหตุการเสียชีวิตภายใน 24 ชั่วโมง -ร้อยละ 60 ของโรงพยาบาลตั้งแต่ F2 ขึ้นไปที่ประเมิน Hospital Safety Index 3. การพัฒนาข้อมูล -ร้อยละ 60 ของโรงพยาบาลระดับ M1 ขึ้นไป มี TEA unit ที่ได้มาตรฐาน -ร้อยละ 60 ของโรงพยาบาลตั้งแต่ F2 ขึ้นไปส่งข้อมูลแฟ้ม ACCIDENT -ร้อยละ 80 ของโรงพยาบาลระดับ F2 มีมาตรการการลดผู้ป่วยไม่ฉุกเฉินที่มาใช้บริการห้องฉุกเฉิน -ร้อยละ 60 ของผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤตในโรงพยาบาลระดับ M1 ขึ้นไปอยู่ในห้องฉุกเฉินไม่เกิน 2-4 ชั่วโมง -ร้อยละ 70 ของโรงพยาบาล F2 ผ่านเกณฑ์ ER คุณภาพ -ร้อยละ 80 ของโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไปใช้ National Triage -อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตภายใน 24 ชั่วโมง < 12% -ร้อยละ 80 ของโรงพยาบาลตั้งแต่ F2 ขึ้นไปที่ประเมิน Hospital Safety Index -ร้อยละ 80 ของโรงพยาบาลระดับ M1 ขึ้นไป มี TEA unit ที่ได้มาตรฐาน -ร้อยละ 80 ของโรงพยาบาลตั้งแต่ F2 ขึ้นไปส่งข้อมูลแฟ้ม ACCIDENT คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ตัวชี้วัด อัตราเสียชีวิตของผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินฯ
28
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
ที่ขึ้นทะเบียนปี จำแนกรายเขตสุขภาพ * ข้อมูลพื้นฐานอัตราความสำเร็จในการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ ปี ข้อมูลจากโปรแกรม TBCM ณ วันที่ 12 ตุลาคม ที่มา สำนักวัณโรค ( คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ตัวชี้วัด TB
29
มาตรการ แนวทางตรวจราชการTB
มาตรการดำเนินงานในพื้นที่ แนวทางการตรวจ ติดตาม ผลลัพธ์ที่ต้องการ Situation analysis : วิเคราะห์สถานการณ์ ขนาดและความรุนแรงของปัญหา กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มเป้าหมาย พื้นที่เป้าหมายช่องว่างและปัญหาอุปสรรคที่ส่งผลต่อการเสียชีวิต ขาดยาและการติดตามผลการรักษาของผู้ป่วยวัณโรค 2. Planning จัดทำแผนงาน/แผนปฏิบัติการเพื่อลดการเสียชีวิต การขาดยา และพัฒนาระบบการส่งต่อและติดตามผลการรักษา 1.เอกสารรายงานผลการวิเคราะห์สถานการณ์ ขนาดปัญหากลุ่มเสี่ยง/พื้นที่กลุ่มเป้าหมายและช่องว่างการดำเนินงาน สถานการณ์ผู้ป่วยวัณโรค M/XDR TB, TB/HIV , Treatment coverage ขนาดปัญหา กลุ่มเสี่ยง/พื้นที่กลุ่มเป้าหมาย ผลการรักษาผู้ป่วยวัณโรค ปี 2558 – 2559 หาสาเหตุ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องที่ทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิต ขาดยา โอนออก และประเมินผลไม่ได้ 2. แผนงาน/แผนปฏิบัติการที่ประกอบด้วย มาตรการ แนวทางแก้ไข ปรับปรุง พัฒนา เพื่อลดการเสียชีวิต การขาดยา และพัฒนาระบบการส่งต่อและติดตามผลการรักษา รายงานผลการวิเคราะห์สถานการณ์ ขนาดปัญหากลุ่มเสี่ยง/พื้นที่กลุ่มเป้าหมายและช่องว่างการดำเนินงาน แผนงาน /แผนปฏิบัติการมาตรการ แนวทางแก้ไข ปรับปรุง พัฒนา คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ตัวชี้วัด TB
30
มาตรการ แนวทางตรวจราชการTB
มาตรการดำเนินงานในพื้นที่ แนวทางการตรวจ ติดตาม ผลลัพธ์ที่ต้องการ Monitoring กำกับและติดตามการดำเนินงานตามแผนงานเพื่อลดการเสียชีวิต การขาดยาและพัฒนาระบบการส่งต่อของพื้นที่เป้าหมาย เอกสารและข้อมูลของผู้รับผิดชอบในเรื่อง ผลการดำเนินงานตามแผนงาน/แผนปฏิบัติการที่ประกอบด้วย มาตรการ แนวทางแก้ไข ปรับปรุง พัฒนา เพื่อลดการเสียชีวิต การขาดยา และพัฒนาระบบการส่งต่อและติดตามผลการรักษา ของพื้นที่เป้าหมาย ผลการดำเนินงานตัวชี้วัดของมาตรการแผนงาน/แผนปฏิบัติ เพื่อการลดการตาย การขาดยา และพัฒนาระบบการส่งต่อของพื้นที่เป้าหมาย รายงานผลการดำเนินงานตามมาตรการ แนวทาง แผนงานแก้ไข ปรับปรุง พัฒนาที่กำหนดขึ้น เพื่อลดการตาย การขาดยาและพัฒนาระบบการส่งต่อ ของพื้นที่เป้าหมาย รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัดของมาตรการแผนงาน/แผนปฏิบัติ คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ตัวชี้วัด TB
31
มาตรการ แนวทางตรวจราชการTB
มาตรการดำเนินงานในพื้นที่ แนวทางการตรวจ ติดตาม ผลลัพธ์ที่ต้องการ Evaluation ประเมินผลอัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 85 เอกสารและข้อมูลของผู้รับผิดชอบในเรื่อง อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 85 ผลการดำเนินงานตัวชี้วัดของมาตรการแผนงาน/แผนปฏิบัติ เพื่อการลดการตาย การขาดยา และพัฒนาระบบการส่งต่อของพื้นที่เป้าหมาย อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 85 ระดับประเทศ : สำนักวัณโรค วิเคราะห์ราระดับอำเภอ : สสอ. และ รพช./รพท/รพศ วิเคราะห์ข้อมูลในพื้นที่ ระดับจังหวัด : สสจ วิเคราะห์รายอำเภอ ระดับเขตสุขภาพ : สคร./เขตสุขภาพ วิเคราะห์รายจังหวัด รายเขตสุขภาพ/สคร. คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ตัวชี้วัด TB
32
6,9M 12M 3M Small Success TB Monitoring Evaluation Situation Analysis
1.รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์วัณโรค กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มเป้าหมาย พื้นที่เป้าหมาย ช่องว่าง สาเหตุ ปัจจัย และปัญหาอุปสรรค 2.แผนงาน/แผนปฏิบัติการ ที่ประกอบด้วย มาตรการ แนวทางแก้ไข ปรับปรุง พัฒนา เพื่อลดการเสียชีวิต การขาดยา และพัฒนาระบบการส่งต่อและติดตามผลการรักษา Situation Analysis and Planning 6,9M 1.รายงานความก้าวหน้าและผลการดำเนินงาน ตามแผนงาน/แผนปฏิบัติการ ที่ประกอบด้วย มาตรการ แนวทางแก้ไข ปรับปรุง พัฒนา และกิจกรรมสำคัญ 2.รายงานการประเมินผลสำเร็จ/ตัวชี้วัดของการดำเนินงาน ตามแผนงาน เพื่อกำกับติดตามมาตรการ 12M 1.รายงานอัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ 2.รายงานผลการดำเนินงานของของมาตรการ แนวทาง แผนงานแก้ไข ปรับปรุง พัฒนาที่กำหนดขึ้น Monitoring Evaluation คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ตัวชี้วัด TB
33
A B ประเมินผลสำเร็จของมาตรการ
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ ที่ขึ้นทะเบียนไตรมาสที่ 1 ของปีงบประมาณ 2561 (เดือนตุลาคม – ธันวาคม 2560) สูตรคำนวณ = (A/B) x 100 A จำนวนผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ ที่ขึ้นทะเบียน ในไตรมาสที่ 1 ของปีงบประมาณ 2561 โดยมีผลการรักษาหาย (Cured) รวมกับรักษาครบ (Completed) B จำนวนผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ ที่ขึ้นทะเบียน ในไตรมาสที่ 1 ของปีงบประมาณ 2561 (เดือนตุลาคม – ธันวาคม 2560) ครบรอบรายงานผลการรักษาไม่เกินวันที่ 31 สิงหาคม 2561 นำผลการรักษาไปรายงานผลลัพธ์ในสิ้นเดือนกันยายน 2561 แหล่งข้อมูลเพื่อตอบตัวชี้วัด : ระบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์รายบุคคล ที่เชื่อมโยง กับระบบข้อมูลของโรงพยาบาล คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ตัวชี้วัด TB
34
01 02 03 What Next 75% กรม/สำนัก เขตสุขภาพ จังหวัด
1.สื่อสาร ชี้แจงทำความเข้าใจรายละเอียดประเด็นตัวชี้วัด การตรวจราชการ และ Monitor ให้ผู้นิเทศงาน 2.เตรียมข้อมูลรายเขต รายจังหวัดให้ผู้นิเทศงาน 02 เขตสุขภาพ 1.ชี้แจงแนวทางการตรวจราชการระดับเขต 2.พิจารณาKPI ในส่วน Monitor ตัวใดต้องตรวจราชการ เพิ่มเติม (ข้อมูลเพิ่มเติมดูจากกรม/สำนัก/Central Cockpit) 03 จังหวัด 1.ชี้แจงทำความเข้าใจรายละเอียด KPI กับผู้ปฏิบัติ 2.ตรวจสอบระบบข้อมูล การเก็บข้อมูลการลงรายงาน หากสงสัยให้ประสานกับผู้รับผิดชอบตัวชี้วัดโดยตรง
35
THANK YOU
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.