งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคนของประเทศ ระยะ 20 ปี (พ. ศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคนของประเทศ ระยะ 20 ปี (พ. ศ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 (ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคนของประเทศ ระยะ 20 ปี (พ. ศ
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคนของประเทศ ระยะ 20 ปี (พ.ศ ) ภายใต้ (ร่าง)กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี โดย สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงแรงงาน 22 กรกฎาคม 2559

2 ประเด็นการนำเสนอ ปัจจัยแวดล้อมภายในประเทศ ปัจจัยแวดล้อมภายนอกประเทศ
Aging Society แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ ) ร่างกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ ) วาระ 2030 เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน Industry 4.0 กรอบแนวคิดในการพัฒนากำลังคนของประเทศในระยะ 20 ปี ข้างหน้า ยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคนของประเทศ ระยะ 20 ปี (ปี 2561 – 2580) วาระปฏิรูปแรงงานระยะที่ 1 (ก.ค.59-ธ.ค.60)

3 ที่มา : กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

4 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564)
กรอบวิสัยทัศน์ : คงความต่อเนื่องจากแผน 11 หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วม การพัฒนาอย่างสมดุลและยั่งยืน ตำแหน่งยุทธศาสตร์ของประเทศ : ประเทศรายได้สูง กระจายรายได้อย่างเป็นธรรม ศูนย์กลางการขนส่งและโลจิสติกส์ของภูมิภาคสู่ความเป็นชาติการค้าและบริการ แหล่งผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัย แหล่งอุตสาหกรรมสร้างสรรค์และนวัตกรรมสูงที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป้าหมายของประเทศ : หลุดพ้นจากกับดักประเทศรายได้ปานกลางสู่รายได้สูง พัฒนาศักยภาพคนให้สนับสนุนการเจริญเติบโตของประเทศและการสร้างสังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ ลดความเหลื่อมล้ำในสังคม สร้างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และบริหารราชการแผ่นดินที่มีประสิทธิภาพ

5 5 แนวทางการพัฒนาตามแผนฯ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564)
ยกระดับศักยภาพการแข่งขันและการหลุดพ้นจากกับดักรายได้ปานกลางสู่รายได้สูง ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา พัฒนาผลิตภาพแรงงาน ส่งเสริมผู้ประกอบการที่เข้มแข็งและพาณิชย์ดิจิตอล การลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน การปรับโครงสร้างการผลิต พัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัยและการปฏิรูประบบเพื่อสร้างสังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ พัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยให้สนับสนุนการเจริญเติบโตของประเทศ (วัยแรงงาน วัยสูงอายุ) ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ เท่าเทียมและทั่วถึง พัฒนาด้านสุขภาพ สร้างสภาพแวดล้อมและนวัตกรรมที่เอื้อต่อการดำรงชีพในสังคมสูงวัย ลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม ยกระดับรายได้และสร้างโอกาสในการประกอบอาชีพ จัดบริการทางสังคมตามสิทธิขั้นพื้นฐาน สร้างความเสมอภาคในการเข้าถึงทรัพยากรและกระบวนการยุติธรรม การรองรับการเชื่อมโยงภูมิภาคและความเป็นเมือง ลงทุนโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกของเมือง พัฒนาการขนส่ง และโลจิสติกส์เชื่อมโยงกับเพื่อนบ้าน ส่งเสริมการลงทุน การค้าชายแดน และ SEZ สร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รักษาทุนทางธรรมชาติเพื่อการเติบโตสีเขียว ส่งเสรมการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการผลิต การลุงทุน และการสร้างงานสีเขียว การจัดการมลพิษและรักษาสิ่งแวดล้อม พัฒนาความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ บริหารจัดการเพื่อลดความเสี่ยงด้านภัยพิบัติ บริหารราชการแผ่นดินที่มีประสิทธิภาพ สร้างความโปร่งใส พัฒนาบุคลากรภาครัฐ สร้างรูปแบบการพัฒนา อปท.ให้เหมาะสม สร้างระบบตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ

6 ร่างกรอบของยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580)
วิสัยทัศน์ : ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน มีความมั่นคงและปลอดภัยในทุกมิติ (ประเทศ สังคม ประชาชน สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ การเมือง) การขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง เศรษฐกิจมีความสามารถในการแข่งขันสูง ความสมบูรณ์ในทุนที่จะสามารถสร้างการพัฒนาต่อเนื่อง ตลาดแรงงานมีประสิทธิภาพ Labour Market Efficiency ทุนมนุษย์ Human Capital การพัฒนาที่สร้างความเจริญและคุณภาพชีวิตอย่างต่อเนื่อง เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มุ่งประโยชน์ส่วนรวมอย่างยั่งยืน ทุกภาคส่วนยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

7 ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

8 วาระ 2030 เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
17 เป้าหมาย 169 เป้าประสงค์ 241 ตัวชี้วัด

9 เป้าหมายที่ 8 แห่งวาระ 2030 เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ส่งเสริมการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ต่อเนื่อง ครอบคลุม และยั่งยืน การจ้างงานที่เต็มที่ (Full Employment) มีผลิตภาพ (Productivity) และการมีงานมี่สมควรสำหรับทุกคน (Decent Work) 10 เป้าประสงค์ + 2 กระบวนการดำเนินงาน กระทรวงแรงงานเป็นเจ้าภาพหลักร่วมกับ สศช. และกระทรวงการคลัง 7 เป้าประสงค์ 7 ตัวชี้วัด

10 Industry 4.0 สู่ Thailand 4.0 จุดเริ่มต้น
ปี ค.ศ เยอรมนีเป็นประเทศแรกของ EU ที่ประกาศตัวเข้าสู่ Industry 4.0 และจัดทำ High-Tech Strategy 2020 Action Plan กำหนดกลไกเชิงยุทธศาสตร์สู่ความสำเร็จไว้ 3 ประการ คือ (1) ผลักดันให้ประกาศเป็นนโยบายของสหภาพยุโรปด้วย (2) ส่งเสริมความร่วมมือทุกภาคส่วน โดยเฉพาะการสร้างความเข้าใจกับสหภาพแรงงานว่าจะไม่เกิดปัญหาการว่างงาน และ (3) ก่อตั้งสถาบันและเครือข่ายวิจัยทั่วประเทศ วาระ Industry 4.0 ของ EU มุ่งเน้นเกี่ยวกับกระบวนการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและให้บริการ การมี Single Digital Market กฎหมายคุ้มครองความปลอดภัยข้อมูล การลงทุนในโครงข่าย Internet และการส่งเสริมอุตสาหกรรมใหม่ที่เน้น R&D และนวัตกรรม รวมถึงการบูรณาการองค์ความรู้ บริษัทเอกชนใน EU ที่ประสบความสำเร็จในการใช้ Industry 4.0 เช่น บริษัท Siemens, บริษัท Bosch, บริษัท Kuka, บริษัท Osram และบริษัท Schindler Switzerland เป็นต้น

11 Industry 4.0 สู่ Thailand 4.0 เป้าผลสัมฤทธิ์ในระยะ 20 ปี
เน้นการใช้ Automation Technology Thailand 3.0 เน้นอุตสาหกรรมหนัก เน้นการการส่งเสริมการส่งออก เน้นการลงททุนและการนำเข้าเทคโนโลยีจากต่างประเทศ Globalization เป้าผลสัมฤทธิ์ในระยะ 20 ปี รายได้ต่อหัว 15,000 USD ระดับความเหลื่อมล้ำในสังคมเหลือ 0.2 – 0.4 GDP & GNP Growth 5% R&D 4% GDP TOP 10 Ease of Doing Business Thailand 2.0 เน้นอุตสาหกรรมเบา เน้นทดแทนการนำเข้า เน้นการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและแรงงานราคาถูก Industrialization Thailand 1.0 เน้นเกษตรกรรม เน้นหัตถกรรม

12 กรอบแนวคิดในการพัฒนากำลังคนของประทศ ระยะ 20 ปี
Sustainable กรอบแนวคิดในการพัฒนากำลังคนของประทศ ระยะ 20 ปี Beyond MIT High Productivity High Income สร้างความมั่นคง STEM Workforce 80% Worker Currently Productive Manpower ปี 2565 Innovative Workforceปี 2570 Creative Workforce ปี 2575 STEM Workforce 40% Brain Power ปี 2580 STEM Workforce 20% STEM/Talent STEM Workforce 10% STEM / Creative STEM / Innovation ปฏิรูประยะที่ 1 Re-skill / Multi-skill / Knowledge / STEM สร้างความมั่งคั่ง MIT = Middle Income Trap

13 คุณภาพชีวิตที่ดีอย่างยั่งยืน
นิยาม มีหลักประกันที่ดี มีโอกาสในการทำงานที่มีคุณค่า (Decent Work) ได้รับการคุ้มครองสิทธิตามกฎหมาย มีสภาพการจ้างที่เป็นธรรม มีสภาพแวดล้อมและสภาพการทำงานที่ปลอดภัย มีแรงงานสัมพันธ์ที่ดี ได้รับสวัสดิการแรงงานที่เหมาะสม มีศักยภาพได้มาตรฐานสากล มั่นคง มีรายได้สูง(High Income) มีผลิตภาพแรงงานสูง (High Productivity) มั่งคั่ง คุณภาพชีวิตที่ดีอย่างยั่งยืน (Sustainable)

14 (ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคนของประเทศ ระยะ 20 ปี
สร้างรากฐานการดำเนินงานด้านแรงงานให้เป็นมาตรฐานสากล Productive Manpower [2561 – 2565] - ขจัดอุปสรรคด้านแรงงานในการพัฒนาประเทศ - พัฒนามาตรฐานการดำเนินงานด้านแรงงานให้เป็นสากล ให้แรงงานทุกคนได้รับความคุ้มครองทางสังคม (social protection) วางแผนกำลังคนของประเทศระยะยาว และขับเคลื่อนเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนแรงงาน ส่งเสริมให้สถานประกอบการเข้าสู่กระบวนการเพิ่ม Productivity อย่างเป็นระบบ (เน้นอุตสาหกรรม First S-Curve และ New S-Curve) - Up-skill , re-skill , multi-skill , STEM แก่แรงงงานเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนผ่านสู่ Thailand 4.0 อย่างราบรื่น (smooth transition) สร้างระบบสมรรถนะกลางของประเทศ และขับเคลื่อนให้เป็นผลสัมฤทธิ์ โดยเฉพาะแรงงานนอกระบบที่ไม่มีทักษะต้องส่งเสริมให้มีมาตรฐานฝีมือตามวิชาชีพ บูรณาการและขยายเครือข่ายความร่วมมือด้านการพัฒนากำลังคนอย่างครบวงจร โดยเน้นสาขาที่จำเป็นต่อการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม วางระบบ Re-Employment สำหรับแรงงานสูงอายุ สร้างมาตรการจูงใจให้ผู้ประกอบการเข้าสู่ระบบการจ้างงาน ปฏิรูประบบค่าจ้างของประเทศ เพื่อเป็นกลไกในการเพิ่มผลิตภาพแรงงาน

15 (ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคนของประเทศ ระยะ 20 ปี
สร้างกำลังคนของประเทศให้เป็นประชาชนโลก (Global citizen) Innovative Workforce [ ] สร้างแรงงานให้สามารถนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ในการเพิ่ม Productivity ได้อย่างมีประสิทธิภาพรองรับต่อ Thailand 4.0 อย่างเต็มรูปแบบ ปรับกฎระเบียบด้านแรงงานให้มีความยืดหยุ่นรองรับรูปแบบการจ้างงานใหม่ในยุค Digital สร้างกำลังคนมีความพร้อมในการทำงานภายใต้สังคมพหุวัฒนธรรม และการจ้างงานข้ามแดน (borderless employment ) สร้างระบบการจ้างงานที่เอื้อต่อแรงงานสูงวัยอย่างครบวงจร ทั้งตำแหน่งงาน สภาพแวดล้อมการทำงาน และสวัสดิการ พัฒนากำลังคนให้มีทักษะระดับสูง (high skill) โดยมุ่งเน้นที่ทักษะด้าน STEM ให้มากขึ้น สร้างผู้ประกอบรายใหม่ที่เข้มแข็งทั้ง entrepreneurship และ startup สร้างกำลังคนให้มีความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่การทำงาน Creative Workforce [2571 – 2575] ดำเนินการให้บรรลุเป้าหมาย SDG (Full Employment , Decent Work) Brain Power [2576 – 2580] สร้างสังคมการทำงานแห่งปัญญา

16 8 วาระปฏิรูปหลักเร่งด่วน
วาระปฏิรูปเพื่อความสำเร็จของการเดินหน้าพัฒนากำลังคนของประเทศ ระยะ 20 ปี 8 วาระปฏิรูปหลักเร่งด่วน ปฏิรูปแรงงานระยะที่ 1 (มิ.ย.59 – ธ.ค.60) ต่อเนื่อง ช่วงที่ 1 Productive Manpower (ปี 2561 – 2580) มิติภายนอก SAFETY THAILAND safe work safe health safe life ป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ เพิ่มผลิตภาพแรงงานสู่ THAILAND 4.0 มิติใหม่ของการส่งเสริมการมีงานทำ แรงงานทั่วไป พิการ สูงอายุ ยกระดับคุณภาพชีวิตแรงงานนอกระบบ มิติภายใน ปฏิรูปบทบาทกระทรวงแรงงาน โครงสร้าง กม. บริหารจัดการ ZERO CORRUPTION INFORMATION TECNOLOGY BIG DATA / e-Service / e-Training

17 วาระปฏิรูปเพื่อความสำเร็จของการเดินหน้าพัฒนากำลังคนของประเทศ ระยะ 20 ปี
6 วาระปฏิรูปรอง ช่วงที่ 1 Productive Manpower (ปี 2561 – 2580) มิติภายนอก ปฏิรูปการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าว ปฏิรูประบบค่าจ้างของประเทศ ปฏิรูประบบมาตรฐานอาชีพที่อาจเป็นอันตรายต่อสาธารณะ ปฏิรูประบบแรงงานสัมพันธ์ มิติภายใน ปฏิรูประบบฐานข้อมูลแรงงาน ปฏิรูปการพัฒนาบุคลากรให้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงตามยุทธศาสตร์ชาติ

18


ดาวน์โหลด ppt (ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคนของประเทศ ระยะ 20 ปี (พ. ศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google