งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

II-3 สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย (ENV)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "II-3 สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย (ENV)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 II-3 สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย (ENV)
นำเสนอโดย... นางเสาวนีย์ ดีวะลา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ นางเสาวนีย์ ดีวะลา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ

2 II-3 สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย (ENV)
วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ 1.เพื่อให้บุคลากรมีความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับมาตรฐานENV 2.บุคลากรให้ความร่วมมือและสามารถนำไปสู่การปฏิบัติได้ในทิศทางเดียวกัน นำเสนอโดย... นางเสาวนีย์ ดีวะลา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ

3 สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย (ENV) II-3
1.สิ่งแวดล้อมทางกายภาพและความปลอดภัย ก.ความปลอดภัยและสวัสดิภาพ ข.วัสดุและของเสียอันตราย ค.การจัดการกับภาวะฉุกเฉิน ง.ความปลอดภัยจากอัคคีภัย 2.เครื่องมือและระบบสาธารณูปโภค ก.เครื่องมือ ข.ระบบสาธารณูปโภค 3.สิ่งแวดล้อมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพและพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ก.การสร้างเสริมสุขภาพ ข.การพิทักษ์สิ่งแวดล้อม

4

5

6

7 ก. ความปลอดภัยและสวัสดิภาพ
โครงสร้างและอาคารสถานที่เน้นให้เป็นไปตามกฎหมายที่กำหนด และเอื้อต่อความปลอดภัย/ประสิทธิภาพ 1.อาคารสิ่งก่อสร้าง เป็นไปตามแบบแปลนของกองแบบแผน ปรับปรุงต่อเติมก็ให้วิศวกรดำเนินการออกแบบให้เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานIC 2.มีการประเมินอาคารและสภาพแวดล้อมจากศูนย์วิศวกรรมความปลอดภัยปีละครั้งและรับการแจ้งรายการที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานเพื่อนำมาวางแผนปรับปรุงให้สอดคล้องกับงบประมาณโรงพยาบาล ***พบโอกาสพัฒนาในการกำหนดแนวทางปฏิบัติในการควบคุมงานก่อสร้าง รวมถึงการจัดกั้นบริเวณก่อสร้างให้มิดชิดเพื่อกันเศษวัสดุตกหล่นหรืออุบัติเหตุจากคนสัญจรไปมา เน้นให้เป็นไปตามกฎหมายที่กำหนด และเอื้อต่อความปลอดภัย/ประสิทธิภาพ ระบบบริหารอาคารสถานที่และการรักษาความปลอดภัย งานบริหารอาคารสถานที่และการรักษาความปลอดภัย งานภาคสนาม งานรักษาความปลอดภัยโรงพยาบาลเหมาบริการขององค์การทหารผ่านศึก การจัดระเบียบอาคารสถานที่ โดยใช้เกณฑ์มาตรฐาน 5 ส ประเมินโดยคณะกรรมการทุก 6 เดือน

8 II-3.1 สิ่งแวดล้อมทางกายภาพและความปลอดภัย
ระบบบริหารอาคารสถานที่และการรักษาความปลอดภัย เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด เน้นการควบคุมการเข้าออกพื้นที่ จัดให้มีระบบรักษาความปลอดภัยตลอด24ชั่วโมง วางระบบความปลอดภัยในตึกผู้ป่วยโดยการกำหนดเวลาเยี่ยมและปิดประตูเมื่อถึงเวลา20.00น. ก. ความปลอดภัยและสวัสดิภาพ (ต่อ) 3. ระบบรักษาความปลอดภัย 3.1 รปภ.ประจำเวรละ 5 คน ประจำป้อมยาม 3 จุด/คน และทั่วไป 2 คนออกตรวจทุก 1 ชม.ตามจุดเสี่ยง เดิมมี 8 คน ปี 2557 เพิ่มเป็น 10 คน 3.2 กล้องวงจรปิดตามจุดเสี่ยง เดิมมี 32 ตัวปี 2557 เพิ่มเป็น 52 ตัวส่งภาพไปที่ป้อมยาม และห้องโสตทัศนศึกษา

9 II-3.1 สิ่งแวดล้อมทางกายภาพและความปลอดภัย ระบบรักษาความปลอดภัย
รปภ.ประจำเวรละ 5 คน ประจำป้อมยาม 3 จุด/คน และทั่วไป 2 คนออกตรวจทุก 1 ชม.ตามจุดเสี่ยง ***ทางเข้าออกมี5ช่อง/รปภ.5คน/เวร กล้องวงจรปิดตามจุดเสี่ยง ***ติดตั้งไม่ครอบคลุม/ความละเอียดหรือคมชัดของกล้อง ก. ความปลอดภัยและสวัสดิภาพ (ต่อ) 3. ระบบรักษาความปลอดภัย 3.1 รปภ.ประจำเวรละ 5 คน ประจำป้อมยาม 3 จุด/คน และทั่วไป 2 คนออกตรวจทุก 1 ชม.ตามจุดเสี่ยง เดิมมี 8 คน ปี 2557 เพิ่มเป็น 10 คน 3.2 กล้องวงจรปิดตามจุดเสี่ยง เดิมมี 32 ตัวปี 2557 เพิ่มเป็น 52 ตัวส่งภาพไปที่ป้อมยาม และห้องโสตทัศนศึกษา

10 ความปลอดภัยและสวัสดิภาพ (ต่อ)
การตรวจสอบความเสี่ยง/การปฏิบัติที่ไม่ปลอดภัย ทีมช่างซ่อมบำรุง รับผิดชอบอาคารสถานที่ จัดแผนตรวจสอบรายเดือน และมีการตรวจสอบจากภายนอกโดยผู้เชี่ยวชาญจากศูนย์วิศวกรรมความปลอดภัยเขต ขอนแก่น ปีละ 1 ครั้ง ค้นหาความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมเชิงรุก (ENV Round) การตรวจสอบความเสี่ยง/การปฏิบัติที่ไม่ปลอดภัย ทีมช่างซ่อมบำรุง รับผิดชอบอาคารสถานที่ จัดแผนตรวจสอบรายเดือน และมีการตรวจสอบจากภายนอกโดยผู้เชี่ยวชาญจากศูนย์วิศวกรรมความปลอดภัยเขต ขอนแก่น ปีละ 1 ครั้ง ค้นหาความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมเชิงรุก (ENV Round)

11 ความปลอดภัยและสวัสดิภาพ (ต่อ)
การให้ความรู้และฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม การสร้างจิตสำนึกด้านอนุรักษ์พลังงาน อบรมป้องกันอัคคีภัยและการใช้อุปกรณ์ดับเพลิง อบรมคณะกรรมการดำเนินกิจกรรม 5 ส ซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่ /กลุ่มชน ประชุมการควบคุมป้องกันการติดเชื้อ ใน รพ. การให้ความรู้และฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อมในรอบปีที่ผ่านมา การสร้างจิตสำนึกด้านอนุรักษ์พลังงาน อบรมป้องกันอัคคีภัยและการใช้อุปกรณ์ดับเพลิง อบรมคณะกรรมการดำเนินกิจกรรม 5 ส ซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่ /กลุ่มชน ประชุมการควบคุมป้องกันการติดเชื้อ ใน รพ.

12 วัสดุและของเสียอันตราย
ควรมีมาตรการป้องกันและจัดการเมื่อเกิดอุบัติการณ์ จัดทำรายการวัสดุของเสียอันตราย น้ำยาตรวจทางห้องปฏิบัติการ หมึกปริ้นเตอร์ ปรอทวัดไข้และรายการขยะติดเชื้อ(ของเสียอันตราย)เช่นเข็ม ชิ้นเนื้อ เลือดและสารคัดหลั่ง จัดทำแนวทางการใช้ การเคลื่อนย้าย จัดเก็บและกำจัดสารเคมี กำหนดแนวทางในการจัดการขยะแต่ละประเภท การแต่งกาย การติดตามประเมินผลและส่งข้อมูลกลับหน่วยงาน คณะกรรมการ ENV ได้ดำเนินการร่วมกับคณะกรรมการIC

13 วัสดุและของเสียอันตราย
ควรมีมาตรการป้องกันและจัดการเมื่อเกิดอุบัติการณ์(ต่อ) 4.เฝ้าระวังสุขภาพบุคลากรกลุ่มเสี่ยง ห้องทันตกรรม ห้องเอกซเรย์ โดยการตรวจรังสีตกค้าง.....ครั้ง/เดือน ****บุคลากรไม่สวมอุปกรณ์ป้องกันรังสี 5.มีแนวทางปฏิบัติเมื่อบุคลากรถูกเข็มทิ่มตำ/เกิดอุบัติเหตุจากการทำงาน ***บางรายเข็มทิ่มตำ เลือดกระเด็นแต่ไม่บันทึกอุบัติการณ์ ไม่สามารถบอกเล่ากระบวนการตามแนวทางได้ คณะกรรมการ ENV ได้ดำเนินการร่วมกับคณะกรรมการIC

14 การจัดการกับภาวะฉุกเฉิน
ภาวะฉุกเฉิน :เหตุการณ์ที่เกิดจากธรรมชาติหรือน้ำมือของมนุษย์ ที่มีผลสร้างความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย ภาวะฉุกเฉินหรือภัยพิบัติที่มีโอกาสประสบ ผลเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมและบุคคล ได้แก่ น้ำท่วม พายุ ฟ้าผ่า โรคระบาด ภาวะฉุกเฉินหรือภัยพิบัติที่ทำให้การบริการหยุดชะงัก ได้แก่ ระบบโทรศัพท์ การเกิดโรคระบาด เช่น การระบาดโรคตับอักเสบเอ ความปลอดภัยจากอัคคีภัย การจัดทำแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยทั้งระดับโรงพยาบาล และระดับหน่วยงาน คณะกรรมการ ENV สำรวจจุดเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดอัคคีภัย ปรับปรุงจุดเสี่ยง บำรุงรักษาอุปกรณ์เกี่ยวกับระบบดับเพลิง ได้แก่ เครื่องดับเพลิง พายุ น้ำท่วม แผ่นดินไหว บริการผู้ป่วยต้องหยุดชะงักไฟฟ้า/ ประปา/ โทรศัพท์ ไม่สามารถใช้การได้หรือทำให้ความต้องการบริการเพิ่มมากขึ้นเช่นตึกถล่ม อุบัติเหตุหมู่

15 การจัดการกับภาวะฉุกเฉิน
มาตรฐาน : 1.ดำเนินการวิเคราะห์อันตรายที่จะเกิดขึ้น เพื่อระบุภาวะฉุกเฉินที่อาจเกิดขึ้น 2.จัดทำแผนรองรับภาวะฉุกเฉิน/เตรียมพร้อมรับภัยพิบัติ/การดำเนินเมื่อเกิดจริง 3.ดำเนินการฝึกซ้อมอย่างสม่ำเสมอ เพื่อทดสอบการจัดการเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน ภาวะฉุกเฉินหรือภัยพิบัติที่มีโอกาสประสบ ผลเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมและบุคคล ได้แก่ น้ำท่วม พายุ ฟ้าผ่า โรคระบาด ภาวะฉุกเฉินหรือภัยพิบัติที่ทำให้การบริการหยุดชะงัก ได้แก่ ระบบโทรศัพท์ การเกิดโรคระบาด เช่น การระบาดโรคตับอักเสบเอ ความปลอดภัยจากอัคคีภัย การจัดทำแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยทั้งระดับโรงพยาบาล และระดับหน่วยงาน คณะกรรมการ ENV สำรวจจุดเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดอัคคีภัย ปรับปรุงจุดเสี่ยง บำรุงรักษาอุปกรณ์เกี่ยวกับระบบดับเพลิง ได้แก่ เครื่องดับเพลิง

16 การจัดการกับภาวะฉุกเฉิน
ภาวะฉุกเฉินที่มีโอกาสประสบ 1.การเกิดอุบัติภัย/อุบัติเหตุหมู่ โรงพยาบาลบึงกาฬได้มีการซ้อมแผนปีละ1ครั้ง 2.การเกิดอัคคีภัย เนื่องจากโรงพยาบาลมีอาคารสูง จึงได้จัดทำแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยทั้งภายในและร่วมกับองค์กรภายนอกที่เกี่ยวข้อง ปีละ1ครั้ง ***ระบบการสื่อสารที่ยังไม่รวดเร็วในโรงพยาบาล / ความเข้าใจของบุคลากรเพื่อเข้าช่วยเหลือ 3.การเกิดอุทกภัย โรงพยาบาลประสบภาวะนี้2-3ปีที่ผ่านมา **** ซึ่งยังไม่เคยมีการซ้อมแผน ใช้การลงหน้างานเมื่อเกิดปัญหาจริง ภาวะฉุกเฉินหรือภัยพิบัติที่มีโอกาสประสบ ผลเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมและบุคคล ได้แก่ น้ำท่วม พายุ ฟ้าผ่า โรคระบาด ภาวะฉุกเฉินหรือภัยพิบัติที่ทำให้การบริการหยุดชะงัก ได้แก่ ระบบโทรศัพท์ การเกิดโรคระบาด เช่น การระบาดโรคตับอักเสบเอ ความปลอดภัยจากอัคคีภัย การจัดทำแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยทั้งระดับโรงพยาบาล และระดับหน่วยงาน คณะกรรมการ ENV สำรวจจุดเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดอัคคีภัย ปรับปรุงจุดเสี่ยง บำรุงรักษาอุปกรณ์เกี่ยวกับระบบดับเพลิง ได้แก่ เครื่องดับเพลิง

17 เครื่องมือแพทย์ เครื่องมือแพทย์ มีการสอบเทียบเครื่องมือ
การประเมินเครื่องมือ ให้เพียงพอ และพร้อมใช้ โดยคณะกรรมการเครื่องมือและอุปกรณ์การแพทย์ ได้ทบทวนการบริหารเครื่องมือและอุปกรณ์การแพทย์ รวมเป็นศูนย์เครื่องมือ และมีแผนการจัดหาเพิ่มเติม ดังนี้ เครื่อง Infusion pump เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้า เครื่องช่วยหายใจชนิดควบคุมปริมาตร มีการสอบเทียบเครื่องมือ เครื่องมือเสี่ยงสูง เครื่องมือเสี่ยงปานกลาง เครื่องมือเสี่ยงต่ำ การประเมินเครื่องมือ ให้เพียงพอ และพร้อมใช้ โดยคณะกรรมการเครื่องมือและอุปกรณ์การแพทย์ ได้ทบทวนการบริหารเครื่องมือและอุปกรณ์การแพทย์ รวมเป็นศูนย์เครื่องมือ และมีแผนการจัดหาเพิ่มเติม ดังนี้ เครื่อง Infusion pump เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้า เครื่องช่วยหายใจชนิดควบคุมปริมาตร มีการสอบเทียบเครื่องมือ เครื่องมือเสี่ยงสูง เครื่องมือเสี่ยงปานกลาง เครื่องมือเสี่ยงต่ำ

18 ระบบสาธารณูปโภค ระบบสาธารณูปโภค
ระบบไฟฟ้า มีเครื่องกำเนิดไฟฟ้าสำรองฉุกเฉิน ระบบสตาร์ทอัตโนมัติเมื่อไฟฟ้าดับ ภายใน 7 วินาที สามารถผลิตไฟฟ้าต่อเนื่องได้นาน 48 ชั่วโมง ระบบประปา มีระบบประปาภูมิภาคสำรอง มีถังน้ำสำรองปริมาณ 300 ลบ.เมตร ใช้ในอาคารผู้ป่วยได้นาน 2 วัน น้ำบริโภค มีการตรวจสอบคุณภาพ 4 ครั้ง/ปี น้ำอุปโภค มีการตรวจสอบคุณภาพ 3 ครั้ง/ปี โดยส่งตรวจที่ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์อุดรธานี ระบบไฟฟ้า มีเครื่องกำเนิดไฟฟ้าสำรองฉุกเฉิน ระบบสตาร์ทอัตโนมัติเมื่อไฟฟ้าดับ ภายใน 7 วินาที สามารถผลิตไฟฟ้าต่อเนื่องได้นาน 48 ชั่วโมง ระบบประปา มีระบบประปาภูมิภาคสำรอง มีถังน้ำสำรองปริมาณ 300 ลบ.เมตร ใช้ในอาคารผู้ป่วยได้นาน 2 วัน น้ำบริโภค มีการตรวจสอบคุณภาพ 4 ครั้ง/ปี น้ำอุปโภค มีการตรวจสอบคุณภาพ 3 ครั้ง/ปี โดยส่งตรวจที่ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์อุดรธานี

19 ระบบสาธารณูปโภค (ต่อ)
ระบบปรับอากาศและระบายอากาศ มีเครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน จำนวน 320 ตัว มีการบำรุงรักษาโดยทำสัญญากับผู้รับเหมาบริการภายนอกโรงพยาบาล และมีการตรวจวัดระบบระบายอากาศ การปนเปื้อนในอากาศจากภายนอก 1 ครั้ง/ปี จากศูนย์วิศวกรรมการแพทย์ ขอนแก่น ระบบสื่อสาร โทรศัพท์ภายใน 200 คู่สาย โทรศัพท์ภายนอก 22 เลขหมาย โทรศัพท์เคลื่อนที่ 25 เลขหมาย วิทยุสื่อสาร 15 เครื่อง บำรุงรักษาโดยทีมซ่อมบำรุง ระบบปรับอากาศ และระบายอากาศ มีเครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน จำนวน 320 ตัว มีการบำรุงรักษาโดยทำสัญญากับผู้รับเหมาบริการภายนอกโรงพยาบาล และมีการตรวจวัดระบบระบายอากาศ การปนเปื้อนในอากาศจากภายนอก 1 ครั้ง/ปี จากศูนย์วิศวกรรมการแพทย์ ขอนแก่น ระบบสื่อสาร โทรศัพท์ภายใน 200 คู่สาย โทรศัพท์ภายนอก 22 เลขหมาย โทรศัพท์เคลื่อนที่ 25 เลขหมาย วิทยุสื่อสาร 15 เครื่อง บำรุงรักษาโดยทีมซ่อมบำรุง

20 ระบบสาธารณูปโภค (ต่อ)
ระบบแก๊สทางการแพทย์ (Medical Gas) มี LIQUID OXYGEN บรรจุแก๊สได้ 5,000 ลิตร เมื่อมีเหตุฉุกเฉิน สำรองถังออกซิเจนได้ 24 ถัง และได้ทำสัญญากับบริษัท TIG นำส่งแก๊สเมื่อแก๊สระดับ 70 นิ้วน้ำ มีการตรวจสอบโดยทีมซ่อมบำรุง ระบบไฟฟ้าสำรอง โรงพยาบาล มีเครื่องสำรองไฟ (Emergency Light) 84 จุด 84 เครื่อง ติดตั้งจุดบริการที่เป็นจุดเสี่ยง ได้แก่ ห้องผ่าตัด ห้องคลอด ห้องฉุกเฉินฯ ICU และบันไดหนีไฟ ระบบแก๊สทางการแพทย์ (Medical Gas) มี LIQUID OXYGEN บรรจุแก๊สได้ 5,000 ลิตร เมื่อมีเหตุฉุกเฉิน สำรองถังออกซิเจนได้ 24 ถัง และได้ทำสัญญากับบริษัท TIG นำส่งแก๊สเมื่อแก๊สระดับ 70 นิ้วน้ำ มีการตรวจสอบโดยทีมซ่อมบำรุง ระบบไฟฟ้าสำรอง โรงพยาบาล มีเครื่องสำรองไฟ (Emergency Light) 84 จุด 84 เครื่อง ติดตั้งจุดบริการที่เป็นจุดเสี่ยง ได้แก่ ห้องผ่าตัด ห้องคลอด ห้องฉุกเฉินฯ ICU และบันไดหนีไฟ

21 สิ่งแวดล้อมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ
1.ปรับปรุงภูมิสถาปัตย์ จัดให้มีสวนหย่อม จัดที่นั่งรอรับบริการ จัดบอร์ดประชาสัมพันธ์ เพื่อสื่อสารความรู้ในการดูแลตนเอง จัดกล่องรับความคิดเห็น 2.กำหนดนโยบายโรงพยาบาลปลอดบุหรี่/อัลกอฮอล์ 3.โรงอาหารร้านค้าสวัสดิการ ได้รับการประเมินด้านวุขสภิบาลครบทุกร้าน 4.การปรับพื้นที่ทางเดินในเขตอาคาร โรงพยาบาลได้กำหนดนโยบายสาธารณสุข เช่น โรงพยาบาลปลอดบุหรี่และแอลกอฮอล์ โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว การลดโรคร้อนโดยการคัดแยกขยะ นโยบาย 5 ส โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

22 การพิทักษ์สิ่งแวดล้อม
1.จัดระเบียบเกี่ยวกับการจำหน่ายอาหารของศูนย์อาหารในโรงพยาบาล ลดการใช้ถุงพลาสติก กล่องโฟม รณรงค์ให้ใช้วัสดุที่ย่อยสลายง่าย 2.เข้าร่วมโครงการลดโลกร้อน กำหนดนโยบายการใช้พลังงานที่ชัดเจน 3.พัฒนาและปรับปรุงระบบบำบัดน้ำเสียให้มีประสิทธิภาพ โดยมีผู้รับผิดชอบตลอด24ชั่วโมง มีผู้รับผิดชอบผ่านการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย มีระบบการส่งกรวดน้ำทิ้ง รวมถึงขอรับการจัดสรรงบประมาณเพื่อจัดสร้างระบบบำบัดน้ำเสียใหม่ที่รองรับการขยายขนาดโรงพยาบาล 4.ระบบกำจัดขยะมูลฝอย โรงพยาบาลได้กำหนดแนวทางการจัดการขยะอย่างเป็นระบบ มีการกำกับติดตามและสะท้อนข้อมูลกลับเมื่อพบว่าไม่ปฏิบัติตามมาตรฐาน ระบบบำบัดน้ำเสีย เป็นระบบคลองวนเวียนโดยใช้ใบพัดเติมอากาศ มีขนาดความจุ 400 ลบ.เมตร ความสามารถในการบำบัดของระบบ 200 ลบ.เมตร/วัน ผู้รับผิดชอบผ่านการอบรมหลักสูตรผู้ดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย และมีการส่งตัวอย่างน้ำทิ้งที่ห้องปฏิบัติการกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ระบบจัดการปริมาณของเสีย ประเภทขยะ 4 ประเภท คือ ขยะทั่วไป ขยะติดเชื้อ ขยะอันตราย และขยะรีไซเคิล

23 ผลการพัฒนาที่สำคัญ ผลการพัฒนาที่สำคัญ
การปรับปรุงและต่อเติมอาคารเพื่อให้เพียงพอต่อการปฏิบัติงานและการให้บริการ ปรับปรุงเส้นทางจราจรในโรงพยาบาล การจัดการภาวะฉุกเฉินและการป้องกันฟ้าผ่า น้ำท่วม ก่อสร้าง ต่อเติมเพื่อป้องกันความเสี่ยง เช่น ทางลาด ราวกั้น ก่อสร้างห้องน้ำคนพิการ ก่อสร้างตามมาตรฐาน IC เช่น อ่างล้างมือ ติดตั้ง พัดลมดูดอากาศ การปรับปรุงและต่อเติมอาคารเพื่อให้เพียงพอต่อการปฏิบัติงานและการให้บริการ ปรับปรุงเส้นทางจราจรในโรงพยาบาล การจัดการภาวะฉุกเฉินและการป้องกันฟ้าผ่า น้ำท่วม ก่อสร้าง ต่อเติมเพื่อป้องกันความเสี่ยง เช่น ทางลาด ราวกั้น ก่อสร้างห้องน้ำคนพิการ ก่อสร้างตามมาตรฐาน IC เช่น อ่างล้างมือ ติดตั้งพัดลมดูดอากาศ

24 ผลการพัฒนาที่สำคัญ (ต่อ)
การจัดทำMaster plan เพื่อรองรับการขยายโรงพยาบาล การปรับปรุงภูมิทัศน์ / จัดทำสวนหย่อม เพื่อให้เกิดความร่มรื่นสวยงาม จัดตลาดปลอดสารพิษ ทุกวันพฤหัสบดี การปรับปรุงที่พักขยะ เพื่อให้ถูกสุขาภิบาล สามารถรองรับขยะทั้งทั่วไปและติดเชื้อ ปรับปรุงบ่อพักน้ำ ถังน้ำใส เพื่อเพิ่มปริมาตรถังสำรองมากยิ่งขึ้น ก่อสร้างที่จอดรถยนต์เพิ่มขึ้น ในบริเวณหลังคลังยา รณรงค์ 5 ส. /การประเมิน 5 ส. ปรับปรุงงานรักษาความปลอดภัย ปรับปรุงระบบการกำจัดขยะ เตรียมและจัดการกับสาธารณภัย ปรับปรุงระบบการขนย้ายศพ การช่วยเหลือเมื่อลิฟท์ค้าง

25 แผนการพัฒนา 1-2 ปีข้างหน้า
การป้องกันน้ำท่วมขังในโรงพยาบาล นิเทศกำกับ การจัดการเก็บวัสดุและของเสียอันตราย จัดซ้อมแผนอุทกภัยในโรงพยาบาล จำลองสถานการณ์จริง เพื่อหาโอกาสพัฒนา ทำการบำรุงรักษาเชิงป้องกันอย่างต่อเนื่องและทบทวนจำนวนที่ต้องทำการบำรุงรักษาเพิ่มขึ้น การป้องกันน้ำท่วมขังในโรงพยาบาล ENV Round อย่างต่อเนื่อง นิเทศกำกับ การจัดการเก็บวัสดุและของเสียอันตราย งานปรับปรุงโรงพักมูลฝอยติดเชื้อ จัดซ้อมแผนอัคคีภัยในโรงพยาบาล จำลองสถานการณ์จริง เพื่อหาโอกาสพัฒนา ทำการบำรุงรักษาเชิงป้องกันอย่างต่อเนื่องและทบทวนจำนวนที่ต้องทำการบำรุงรักษาเพิ่มขึ้น

26 แผนการพัฒนา 1-2 ปีข้างหน้า (ต่อ)
ปรับปรุงระบบน้ำประปา ปรับปรุงระบบไฟฟ้าแรงสูงและแรงต่ำ เพื่อรองรับอาคารใหม่ ขยายท่อเมนของระบบ Liquid Tank ให้มีอัตราการไหลที่เพียงพอ มีมุมการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อมในจุดการให้บริการ ปรับปรุงระบบบำบัดน้ำเสีย รองรับการขยายโรงพยาบาล ปรับปรุงระบบน้ำประปา ปรับปรุงระบบไฟฟ้าแรงสูงและแรงต่ำ เพื่อรองรับอาคารใหม่ ขยายท่อเมนของระบบ Liquid Tank ให้มีอัตราการไหลที่เพียงพอ มีมุมการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อมในจุดการให้บริการ ปรับปรุงระบบบำบัดน้ำเสีย รองรับการขยายโรงพยาบาล โครงการ Car Free Day แก่เจ้าหน้าที่

27 แก้ไขปัญหาน้ำท่วม

28 ตรวจสอบโครงสร้างอาคารสถานที่

29 ตรวจสอบวิศวกรรมความปลอดภัย

30

31

32

33 ประชุมเมื่อมีเหตุการณ์สำคัญ

34

35

36 สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วยSPA2-3
วัสดุและของเสียอันตราย ความปลอดภัยและสวัสดิภาพ ความปลอดภัยและสวัสดิภาพ วัสดุและของเสียอันตราย การจัดการกับภาวะฉุกเฉิน ความปลอดภัยจากอัคคีภัย ความปลอดภัยจากอัคคีภัย การจัดการกับภาวะฉุกเฉิน ระบบสาธารณูปโภค เครื่องมือ เครื่องมือ ระบบสาธารณูปโภค สิ่งแวดล้อมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ สิ่งแวดล้อมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ การพิทักษ์สิ่งแวดล้อม การพิทักษ์สิ่งแวดล้อม

37 II-3 สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย (ENV)
ขอบคุณค่ะ นำเสนอโดย... นางเสาวนีย์ ดีวะลา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ


ดาวน์โหลด ppt II-3 สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย (ENV)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google