งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เวลา 13.30 น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
การประชุม ทบทวนแผนงาน/โครงการของส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม เพื่อบรรจุในร่างแผนแม่บทการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 3 พ.ศ วันพุธที่ 28 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9

2 พิจารณาแผนงาน/โครงการที่บรรจุในร่างแผนแม่บทฯ
ประเด็นการนำเสนอ ระดับของแผน ร่างยุทธศาสตร์ชาติ ร่าง แผนปฏิรูปประเทศ ร่าง แผนแม่บทฯ พิจารณาแผนงาน/โครงการที่บรรจุในร่างแผนแม่บทฯ

3 ระดับของแผนตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
มติ ครม. 4 ธันวาคม 2560

4

5

6

7 แผนปฏิรูปประเทศ

8 ร่างแผนแม่บทการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 3
เป้าหมายที่ 1 สังคมมีความสงบเรียบร้อย ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน เป้าหมายที่ 2 การบริหารงานยุติธรรม มีธรรมาภิบาลและความโปร่งใส วิสัยทัศน์ การบริหารงานยุติธรรมมีธรรมาภิบาลและทันสมัย สร้างสังคมไทย เคารพกฎหมาย มีความปลอดภัยและสงบสุข

9 5 ยุทธศาสตร์ของร่างแม่บทฯ
-สร้างความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม -ปลุกจิตสำนึกในการเคารพและปฏิบัติตามกฎหมายของประชาชน -เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานด้านป้องปรามของหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม -ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงความยุติธรรมในรูปแบบที่หลากหลายและทั่วถึง ยุติความขัดแย้ง สร้างความสมานฉันท์ โดยใช้กระบวนการยุติธรรมทางเลือกในรูปแบบต่าง ๆ - มุ่งพัฒนากระบวนการยุติธรรมในเชิงโครงสร้าง เพื่อให้การบริหารงานยุติธรรมมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล และคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนได้อย่างเสมอภาค เท่าเทียม และเป็นธรรม -พัฒนาระบบการควบคุม บำบัดฟื้นฟูผู้กระทำผิด ทั้งกลุ่มเด็กและเยาวชน ผู้ต้องขังและผู้ถูกคุมความประพฤติ รวมทั้งพัฒนาระบบการติดตามผู้พ้นโทษให้กลับสู่สังคมได้อย่างปกติสุข ไม่ทำผิดซ้ำ ตลอดจนสร้างทัศนคติที่ดีต่อสังคมในการให้โอกาสผู้พ้นโทษ -พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสนับสนุนการทำงานของหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม เน้นการสร้างความเชื่อมโยงฐานข้อมูล ความครบถ้วนและทันสมัยของข้อมูล รวมถึงการพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. การเสริมสร้างความรู้ด้านกฎหมาย กระบวนการยุติธรรม และการป้องกันอาชญากรรม 2. การส่งเสริมและพัฒนากระบวนการยุติธรรมทางเลือก 3. การพัฒนากฎหมายและระบบบริหารงานยุติธรรม 4. การควบคุมและบำบัดฟื้นฟูผู้กระทำผิด 5. การขับเคลื่อนกระบวนการยุติธรรมด้วยดิจิทัล

10 5 ยุทธศาสตร์ของร่างแม่บทฯ (ต่อ)
3. การพัฒนากฎหมายและระบบบริหารงานยุติธรรม (ขยายรายละเอียด) มุ่งพัฒนากระบวนการยุติธรรมในเชิงโครงสร้าง เพื่อให้การบริหารงานยุติธรรมมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล และคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนได้อย่างเสมอภาค เท่าเทียม และเป็นธรรม โดยเน้นการดำเนินงาน แก้ไขปรับปรุงกฎหมายให้มีความทันสมัยและเป็นธรรม พัฒนาระบบงานยุติธรรมให้มีประสิทธิภาพและธรรมาภิบาล กำหนดมาตรฐานระยะเวลาการดำเนินงานในทุกขั้นตอน พัฒนาศักยภาพบุคลากร เสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรด้านกระบวนการยุติธรรม พัฒนาการช่วยเหลือประชาชนในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม ปรับปรุงกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และพัฒนาระบบอนุญาโตตุลาการ

11 ความเชื่อมโยงระหว่างร่างแผนแม่บทฯ กับร่างแผนปฏิรูปประเทศ
ความเชื่อมโยงระหว่างร่างแผนแม่บทฯ กับร่างแผนปฏิรูปประเทศ ร่างแผนแม่บทฯ ร่างแผนปฏิรูปประเทศ

12 ความเชื่อมโยงระหว่างร่างแผนแม่บทฯ กับร่างแผนปฏิรูปประเทศ
1. การเสริมสร้างความรู้ด้านกฎหมาย กระบวนการยุติธรรม และการป้องกันอาชญากรรม ด้านที่ 1 ด้านการเมือง ด้านที่ 2 การบริหารราชการแผ่นดิน 2. การส่งเสริมและพัฒนากระบวนการยุติธรรมทางเลือก ด้านที่ 3 กฎหมาย ด้านที่ 4 กระบวนการยุติธรรม 3. การพัฒนากฎหมายและระบบบริหารงานยุติธรรม ด้านที่ 5 เศรษฐกิจ ด้านที่ 10 สังคม 4. การควบคุมและบำบัดฟื้นฟูผู้กระทำผิด ด้านที่ 11 ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ 5. การขับเคลื่อนกระบวนการยุติธรรมด้วยดิจิทัล

13 ร่างแผนแม่บทการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 3
ร่างแผนแม่บทฯ เป้าหมาย 1. การเสริมสร้างความรู้ด้านกฎหมาย กระบวนการยุติธรรม และการป้องกันอาชญากรรม ประชาชนรู้และเข้าใจสิทธิและความรู้พื้นฐานด้านกระบวนการยุติธรรม เคารพกฎหมาย และมีส่วนร่วมป้องกันอาชญากรรม 2. การส่งเสริมและพัฒนากระบวนการยุติธรรมทางเลือก ประชาชนเข้าถึงความยุติธรรมในรูปแบบที่หลากหลายและทั่วถึง ยุติความขัดแย้งและสร้างความสมานฉันท์โดยใช้กระบวนการยุติธรรมทางเลือกในรูปแบบต่าง ๆ 3. การพัฒนากฎหมายและระบบบริหารงานยุติธรรม การบริหารงานยุติธรรมมีประสิทธิภาพและมีความโปร่งใสมากขึ้น ประชาชนมีความพึงพอใจต่อการดำเนินงานของกระบวนการยุติธรรม และเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม 4. การควบคุมและบำบัดฟื้นฟูผู้กระทำผิด ลดการกระทำผิดซ้ำ ผู้พ้นโทษมีชีวิตที่ดีขึ้น 5. การขับเคลื่อนกระบวนการยุติธรรม ด้วยดิจิทัล การบริหารจัดการกระบวนการยุติธรรมมีประสิทธิภาพมากขึ้นด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

14 แผนงาน/โครงการในแต่ละยุทธศาสตร์ตามร่างแผนแม่บทฯ

15 Email: policy.moj@gmail.com
ส่งข้อมูลเพิ่มเติม


ดาวน์โหลด ppt เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google