ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยอภิรักษ์ สโตเกอร์ ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด ชั้น ๔
2
การดำเนินการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การดำเนินการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ รอบ ๖ เดือน (๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ – ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๕)
3
คำรับรองการปฏิบัติราชการจังหวัดกาฬสินธุ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
คำรับรองการปฏิบัติราชการจังหวัดกาฬสินธุ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) เจ้าภาพหลักตัวชี้วัด มิติที่ ๑ ด้านประสิทธิผล ๑. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการกลุ่มจังหวัดและจังหวัด ๒๐ ๑.๑ ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการกลุ่มจังหวัด ๘ ระดับกลุ่มจังหวัด สนง.เกษตรจังหวัดขอนแก่น
4
คำรับรองการปฏิบัติราชการจังหวัดกาฬสินธุ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
คำรับรองการปฏิบัติราชการจังหวัดกาฬสินธุ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) เจ้าภาพหลักตัวชี้วัด ๑.๑.๑ร้อยละของจำนวนแปลงฟาร์มที่ได้รับรองมาตรฐาน GAP ของผลผลิตการเกษตรที่สำคัญต่อจำนวนแปลง/ฟาร์มที่ได้รับการตรวจจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๓ สนง.เกษตรจังหวัด ๑.๑.๒ ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของปริมาณผลผลิตการเกษตร อ้อยโรงงาน ข้าวนาปี และมันสำปะหลัง ๕
5
คำรับรองการปฏิบัติราชการจังหวัดกาฬสินธุ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
คำรับรองการปฏิบัติราชการจังหวัดกาฬสินธุ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) เจ้าภาพหลักตัวชี้วัด ๑.๒ ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของจังหวัด ๑๒ ๑.๒.๑ ร้อยละของเกษตรกรที่มีการปรับระบบการเลี้ยงไก่พื้นเมือง ๒ สนง.ปศุสัตว์จังหวัด ๑.๒.๒ ระดับความสำเร็จของการเพิ่มสมรรถนะด้านการบริหารจัดการและการตลาดให้แก่ผู้ประกอบการ สนง.พาณิชย์จังหวัด
6
คำรับรองการปฏิบัติราชการจังหวัดกาฬสินธุ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
คำรับรองการปฏิบัติราชการจังหวัดกาฬสินธุ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) เจ้าภาพหลักตัวชี้วัด ๑.๒.๓ ระดับความสำเร็จของการแก้ไขปัญหาสังคมและพัฒนาคุณภาพชีวิต ๒ สนง.พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ๑.๒.๔ ระดับความสำเร็จของการบริหารจัดการแบบบูรณาการในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค สนง.จังหวัด กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศฯ ๑.๒.๕ ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานอาหารปลอดภัยเพื่อคุ้มครองสุขภาพ (Safer food for better health) สนง.สาธารณสุขจังหวัด
7
คำรับรองการปฏิบัติราชการจังหวัดกาฬสินธุ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
คำรับรองการปฏิบัติราชการจังหวัดกาฬสินธุ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) เจ้าภาพหลักตัวชี้วัด ๑.๒.๖ ร้อยละของอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ๒ สนง.สาธารณสุขจังหวัด ๒. ระดับความสำเร็จในการขับเคลื่อนนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล ๑๐ ๒.๑ ระดับความสำเร็จของการบริหารจัดการ
8
ผลคะแนนเบื้องต้นของการปฏิบัติราชการตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการจังหวัดกาฬสินธุ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔ เมื่อวันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๕
9
เหตุผลการปรับลดคะแนน
ตัวชี้วัด ผลการปฏิบัติราชการ น้ำหนัก (ร้อยละ) ผลการดำเนินงาน ปี ๕๕ ค่าคะแนน ที่ได้ เหตุผลการปรับลดคะแนน ๑.๒.๑ ร้อยละของจำนวนเกษตรกรกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการเตรียมความพร้อมตามระบบมาตรฐาน GAP ๑.๕๐ - พืช ๑๐๐%๔ - ปศุสัตว์ ๐% - ประมง ๑๐๐% ๓.๖๖๖๗ ผลการดำเนินงานในส่วนปศุสัตว์ต่ำกว่าค่าเป้าหมาย X ๑.๒.๒ ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการดำเนินการป้องกันแก้ไขปัญหาและเฝ้าระวังไข้หวัดนก ๑๐๐% ๕.๐๐๐๐
10
เหตุผลการปรับลดคะแนน
ตัวชี้วัด ผลการปฏิบัติราชการ น้ำหนัก (ร้อยละ) ผลการดำเนินงาน ปี ๕๕ ค่าคะแนน ที่ได้ เหตุผลการปรับลดคะแนน ๑.๒.๓ ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพด้านการท่องเที่ยวของจังหวัด ๑.๕๐ ระดับ ๔.๒๕ ๔.๒๕๐๐ - ขาดรายงานสรุปผลโครงการ - ตัวชี้วัดผ่าน ๑ ตัวชี้วัด จาก ๒ ตัวชี้วัด X ๑.๒.๔ ระดับความสำเร็จของการแก้ไขปัญหาสังคมและพัฒนาคุณภาพชีวิต ระดับ ๕ ๕.๐๐๐๐
11
เหตุผลการปรับลดคะแนน
ตัวชี้วัด ผลการปฏิบัติราชการ น้ำหนัก (ร้อยละ) ผลการดำเนินงาน ปี ๕๕ ค่าคะแนน ที่ได้ เหตุผลการปรับลดคะแนน ๑.๒.๕ ร้อยละของหมู่บ้านที่ผ่านเกณฑ์การจัดระดับหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๒ ๑๒.๑๐% ๕.๐๐๐๐ X ๑.๒.๖ ร้อยละของสถานีอนามัยที่ได้รับการยกฐานะเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา ๑๐๐% ๑.๒.๗ ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ OTOP ใช้ข้อมูลผลการประเมินจากหน่วยงานส่วนกลาง
12
เหตุผลการปรับลดคะแนน
ตัวชี้วัด ผลการปฏิบัติราชการ น้ำหนัก (ร้อยละ) ผลการดำเนินงาน ปี ๕๕ ค่าคะแนน ที่ได้ เหตุผลการปรับลดคะแนน ๒.๑ ระดับความสำเร็จของการสนับสนุน/ส่งเสริมการพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชนด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม ๕ ระดับ ๕ ๕.๐๐๐๐ X ๒.๒ ระดับความสำเร็จของการบริหารจัดการเพื่อติดตามประเมินผลการดำเนินการตามนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล ระดับ ๑ ๑.๐๐๐๐ การกำหนดกรอบการติดตามที่มีความชัดเจน และรายงานสรุปผลการประเมินไม่ครบถ้วนตามประเด็นที่กำหนด
13
เหตุผลการปรับลดคะแนน
ตัวชี้วัด ผลการปฏิบัติราชการ น้ำหนัก (ร้อยละ) ผลการดำเนินงาน ปี ๕๕ ค่าคะแนน ที่ได้ เหตุผลการปรับลดคะแนน ๓.๑ ระดับความสำเร็จของการแก้ไขปัญหาเพื่อลดจำนวนครัวเรือนยากจนที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. ๓ ระดับ ๕ ๕.๐๐๐๐ ๓.๒ ระดับความสำเร็จในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ๔ ระดับ ๓.๑๕ ๓.๑๕๐๐ การกำหนดตัววัดไม่กำหนดเป้าหมายรายงานสถานการณ์ ๓ ปี (ช่วงทบทวนฯ)
14
เหตุผลการปรับลดคะแนน
ตัวชี้วัด ผลการปฏิบัติราชการ น้ำหนัก (ร้อยละ) ผลการดำเนินงาน ปี ๕๕ ค่าคะแนน ที่ได้ เหตุผลการปรับลดคะแนน ๓.๓ ระดับคะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของร้อยละการจับกุมผู้กระทำผิดในคดี แต่ละกลุ่มที่เกิดขึ้นในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔ ๕ ใช้ข้อมูลผลการประเมินจากหน่วยงานส่วนกลาง ๓.๔ ระดับความสำเร็จของการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
15
เหตุผลการปรับลดคะแนน
ตัวชี้วัด ผลการปฏิบัติราชการ น้ำหนัก (ร้อยละ) ผลการดำเนินงาน ปี ๕๕ ค่าคะแนน ที่ได้ เหตุผลการปรับลดคะแนน ๓.๕ ระดับความสำเร็จของการรักษาความปลอดภัยโดยเน้นอุบัติเหตุจราจรทางบก ๓ ระดับ ๕ ๕.๐๐๐๐ ๔. ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ ๖ ใช้ข้อมูลผลการประเมินจากหน่วยงานส่วนกลาง ๕. ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้กำหนดนโยบาย
16
เหตุผลการปรับลดคะแนน
ตัวชี้วัด ผลการปฏิบัติราชการ น้ำหนัก (ร้อยละ) ผลการดำเนินงาน ปี ๕๕ ค่าคะแนน ที่ได้ เหตุผลการปรับลดคะแนน ๖. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาศูนย์บริการร่วมหรือเคาน์เตอร์บริการประชาชน ๓ ระดับ ๑.๖๓๑๖ ๑.๖๓๑๖ -แบบฟอร์มขอรับบริการเป็นแบบฟอร์มเดียวกัน ขาดฐานข้อมูลเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงาน -ดำเนินงานตามเกณฑ์ได้จำนวน ๑๒ ข้อ จาก ๑๙ ข้อ -ไม่มีการสรุปผลความพึงพอใจ ปี ๕๔
17
เหตุผลการปรับลดคะแนน
ตัวชี้วัด ผลการปฏิบัติราชการ น้ำหนัก (ร้อยละ) ผลการดำเนินงาน ปี ๕๕ ค่าคะแนน ที่ได้ เหตุผลการปรับลดคะแนน ๗. ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ๓ ระดับ ๒.๘๒๕๐ ๒.๘๒๕๐ -วิเคราะห์ผลสำรวจความคิดเห็นปี ๕๓ ไม่ครบถ้วน -ไม่มีตัวชี้วัด Outcome -ดำเนินการทำแผนล่าช้าไม่สามารถประเมินผลการดำเนินงานได้ -สรุปข้อร้องเรียนปี ๕๔ ไม่ครบตามที่กำหนด -รายงานสรุปผลการดำเนินงานไม่มีรายละเอียดครบตามที่กำหนด
18
เหตุผลการปรับลดคะแนน
ตัวชี้วัด ผลการปฏิบัติราชการ น้ำหนัก (ร้อยละ) ผลการดำเนินงาน ปี ๕๕ ค่าคะแนน ที่ได้ เหตุผลการปรับลดคะแนน ๘. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ ๕ ระดับ ๔.๑๕๕๑ ๔.๑๕๕๑ -ส่งแบบฟอร์มไม่ทันภายในกำหนด -บางกระบวนงานพบว่าบันทึกระยะเวลาขาดความน่าเชื่อถือ (ไม่ตรงกับรายงานในแบบฟอร์ม ๒) ๙. ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน/ภาพรวม/เงินโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง ๒๕๕๕ ๗ ใช้ข้อมูลผลการประเมินจากหน่วยงานส่วนกลาง
19
เหตุผลการปรับลดคะแนน
ตัวชี้วัด ผลการปฏิบัติราชการ น้ำหนัก (ร้อยละ) ผลการดำเนินงาน ปี ๕๕ ค่าคะแนน ที่ได้ เหตุผลการปรับลดคะแนน ๑๐. ระดับความสำเร็จของการควบคุมภายใน ๓ ระดับ ๓.๗๐๐ (เฉพาะระดับ ๑-๔) ระดับที่ ๕ รอผลคะแนนจากส่วนกลาง ๓.๗๐๐๐ -ขาดเอกสารของแรงงานจังหวัด สุ่มไปไม่พบ -ส่งรายงานผลการดำเนินงานตามแผนการปรับปรุงไม่ทันภายใน ๒๙ เม.ย.๕๔ - X
20
เหตุผลการปรับลดคะแนน
ตัวชี้วัด ผลการปฏิบัติราชการ น้ำหนัก (ร้อยละ) ผลการดำเนินงาน ปี ๕๕ ค่าคะแนน ที่ได้ เหตุผลการปรับลดคะแนน ๑๑. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ๒๐ ใช้ข้อมูลผลการประเมินจากหน่วยงานส่วนกลาง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.