งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ทิศทางการดำเนินงาน สุขาภิบาลอาหารและคุณภาพน้ำบริโภค ปี 2557

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ทิศทางการดำเนินงาน สุขาภิบาลอาหารและคุณภาพน้ำบริโภค ปี 2557"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ทิศทางการดำเนินงาน สุขาภิบาลอาหารและคุณภาพน้ำบริโภค ปี 2557
โดย นางนันทกา หนูเทพ รก.ผู้อำนวยการสำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ วันที่ 12 ธันวาคม 2556

2 โครงสร้างการทำงานระบบสาธารณสุข
ประเทศไทย National Health Authority Regulator Provider Purchaser Supplement/Agent สปสช. สวรส. สช. สพฉ.

3 นโยบายเร่งด่วนกระทรวงสาธารณสุข ปี 2557
ปรับปรุงระบบบริการ มีตัวชี้วัดในการวัดผลงาน เพิ่มประสิทธิภาพบริการในระบบบริการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ การแพทย์ฉุกเฉินและระบบส่งต่อ การพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ ความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางบริการสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) ที่มา : การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาการปฏิรูปเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงาน กระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2556

4 ...นโยบายอธิบดีกรมอนามัย...
เน้นการดำเนินงานผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะการติดต่อสื่อสารผ่านระบบ Social Network เช่น Face book, Line เป็นต้น 2. ขอให้ทำงานอย่างมีความสุข ต้องให้เกียรติซึ่งกันและกัน

5 ...นโยบายอธิบดีกรมอนามัย...
3. ต้องมีแรงบันดาลใจในการทำงาน งานจึงสำเร็จ และมีการให้รางวัลในการทำงาน เน้นการ Training 4. ให้ทุกหน่วยงานมีการสื่อสารและตอบโต้ความเสี่ยง โดยยึดความเสี่ยงของประชาชนเป็นหลัก

6 ...นโยบายอธิบดีกรมอนามัย...
5. จัดทำ Branding กรมอนามัย เพื่อใช้ในการสื่อสารต่อประชาชน และการให้ข่าว รวมถึงส่วนภูมิภาคต้องสร้างภาคีเครือข่ายในระดับพื้นที่ 6. ศูนย์อนามัยที่ 1-12 ต้องปรับเปลี่ยนเป็นศูนย์ส่งเสริมสุขภาพแบบครบวงจร

7 ...งานเร่งรัดตามนโยบาย ปี 57...
พัฒนาศูนย์อนามัยเป็นศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ ครบวงจร * ศูนย์อนามัยที่ 1 กรุงเทพฯ * ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี * ศูนย์อนามัยที่ 6 ขอนแก่น * ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่ * ศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา

8 ...งานเร่งรัดตามนโยบาย ปี 57...
2. ขยายบริการในเขตกรุงเทพมหานคร * ศูนย์อนามัยที่ 1 กรุงเทพฯ * โรงพยาบาลยาสูบ 2 แห่ง (คลองเตย,สาทร) * สำนักแพทย์และอนามัย การท่าเรือแห่ง ประเทศไทย * โรงพยาบาลบุรฉัตรไชยากร (โรงพยาบาล รถไฟ) * ที่ทำการแพทย์เขตบางซื่อ

9 ...งานเร่งรัดตามนโยบาย ปี 57...
3. การพัฒนาศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ 4. การรณรงค์ลดหวาน มัน เค็ม 5. การส่งเสริมกินผัก 5 สี ดี 5 อย่าง และผักปลอดสารพิษ

10 ...งานเร่งรัดตามนโยบาย ปี 57...
6. การป้องกันเด็กจมน้ำ 7. การสร้างเครือข่ายวัยรุ่นอาสา วางแผนครอบครัว 8. การยกระดับโครงการอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (CFGT ป้ายทอง)

11 ...งานเร่งรัดตามนโยบาย ปี 57...
9. การรณรงค์เรื่องความสะอาด 10. การพัฒนาสุขาภิบาลที่พักอาศัยและสิ่งแวดล้อมในชุมชน 9. การรณรงค์น้ำแข็งเรื่อง น้ำแข็งสะอาด เพื่อให้คนไทยปลอดโรค 10. มีการพัฒนาสุขาภิบาลที่พักอาศัยและสิ่งแวดล้อมในชุมชน ด้วยการรณรงค์การกำจัดแมลงสาบ การกำจัดของเสียในชุมชน พัฒนาส้วม เป็นต้น

12 ทิศทางงานอนามัยสิ่งแวดล้อม
แผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พศ - คุณภาพอากาศ - น้ำ การสุขาภิบาลและสุขอนามัย - ขยะและของเสียอันตราย - สารเคมีเป็นพิษและสารอันตราย - การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ - การอนามัยสิ่งแวดล้อมในกรณี สาธารณภัย - การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

13 ประเด็นงานหลัก ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
Future Crisis : Environment and Health วิกฤตอนาคต: สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ Urbanization and Environmental Health ความเป็นเมืองและอนามัยสิ่งแวดล้อม Sustainable Sanitation การสุขาภิบาลอย่าง ยั่งยืน สู่วิถีพอเพียง(การใช้ประโยชน์จากของเสีย)

14 ประเด็นยุทธศาสตร์ Future Crisis : Environment and Health วิกฤตอนาคต: สิ่งแวดล้อมและ สุขภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ :- “การคุ้มครองสิทธิทางสุขภาพของชุมชน” เป้าประสงค์ :- การคุ้มครองสิทธิทาง สุขภาพของชุมชน ประเด็นงานได้แก่ การพัฒนาระบบเฝ้าระวัง เพื่อการเตือนภัย การสื่อสารความเสี่ยง การ กำกับและติดตามการดำเนินงานของ ผู้รับผิดชอบ(อปท.) การวิเคราะห์ สถานการณ์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม การ ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

15 ประเด็นยุทธศาสตร์ Urbanization and Environmental Health ความเป็นเมืองและอนามัย สิ่งแวดล้อม ประเด็นยุทธศาสตร์ :- “การลดความเสี่ยงจากการจัดบริการ” เป้าประสงค์ :- การจัดบริการที่มีคุณภาพ และมาตรฐาน ประเด็นงานได้แก่ การเร่งรัดให้มีการ พัฒนาระบบคุณภาพของ อปท.ในการ จัดบริการ อาทิ ร้านอาหาร ส้วมสาธารณะ ทั้งนี้ต้องเป็นไปตามมาตรฐานและ กฎหมาย

16 ประเด็นยุทธศาสตร์ Sustainable Sanitation การใช้ ประโยชน์จากสิ่งปฏิกูล
ประเด็นยุทธศาสตร์ :- “การพัฒนาการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืน สู่วิถีพอเพียง” เป้าประสงค์ :- ชุมชนและท้องถิ่น สามารถจัดการสุขาภิบาลได้อย่างถูก หลักวิชา โดยวิธีการและอุปกรณ์ที่ ประหยัด เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และพึ่งตนเองได้ ประเด็นงานได้แก่ การใช้ประโยชน์ จากสิ่งปฏิกูล , การจัดการมูลฝอย

17 ตัวชี้วัดงานอนามัยสิ่งแวดล้อม
ผู้รับผิดชอบ ร้อยละของมูลฝอยติดเชื้อได้รับการจัดการ อย่างถูกสุขลักษณะ (80) สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม/ศูนย์บริหารกฎหมายฯ 2. ร้อยละของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขได้มาตรฐานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (ทั้ง 4 ด้าน) (30) ได้แก่ - มีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อถูกสุขลักษณะ - มีการรายงานการเดินระบบบำบัดน้ำเสียตาม ม.80 - สถานที่ประกอบอาหารผู้ป่วย ได้มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร - ระบบประปารพ. ผ่านเกณฑ์น้ำประปาดื่มได้ สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม/สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ/ศูนย์ห้องปฏิบัติการฯ

18 งานอนามัยสิ่งแวดล้อม (ต่อ)
ตัวชี้วัด ผู้รับผิดชอบ 3. ร้อยละของส้วมสาธารณะ ผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน HAS (80) สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม/ศูนย์บริหารกฎหมายฯ 4. จำนวนตลาดนัดน่าซื้อต้นแบบ (77 แห่ง) สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ/ศูนย์บริหารกฎหมายฯ 5. จำนวนอปท. มีคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม (อย่างน้อย 1 ใน 4 ด้าน) (200 แห่ง) ได้แก่ - ด้านการสุขาภิบาลอาหาร - ด้านคุณภาพน้ำบริโภค - ด้านการจัดการมูลฝอย - ด้านการจัดการสิ่งปฏิกูล สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม/สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ/ศูนย์บริหารกฎหมายฯ/ศูนย์ห้องปฏิบัติการฯ

19 งานอนามัยสิ่งแวดล้อม (ต่อ)
ตัวชี้วัด ผู้รับผิดชอบ 6. จำนวนจังหวัดที่มีระบบและกลไกการคุ้มครองสิทธิสุขภาพของประชาชนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (ครอบคลุม 4 ด้าน) (32 จังหวัด) ได้แก่ - มีการดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่ที่กำหนดไว้ในคำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการสาธารณสุข - มีระบบและกลไกรองรับการดำเนินการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรณีภาวะฉุกเฉิน - มีระบบการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม - มีระบบการประเมินผลต่อสุขภาพจากกิจการตาม พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ/สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม/สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ/ศูนย์บริหารกฎหมายฯ/ศูนย์ห้องปฏิบัติการฯ

20 สุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การดำเนินงาน สุขาภิบาลอาหารและน้ำ ปีงบประมาณ 2557 20

21 การดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ปี 2557
กรมอนามัยได้ดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ โดยมุ่งเน้น การแก้ไข และลดปัญหาความความเสี่ยงจากการจัดบริการอาหาร และ คุณภาพน้ำบริโภคในสถานประกอบการด้านอาหารต่างๆ ตาม พรบ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 นโยบายสำคัญ ตัวชี้วัด ภารกิจ 21

22 โครงการตลาดสะอาด อาหารปลอดภัย  โครงการร้านอาหารไทย ปลอดภัย สุขภาพดี
นโยบายสำคัญ โครงการตลาดสะอาด อาหารปลอดภัย  โครงการร้านอาหารไทย ปลอดภัย สุขภาพดี (Clean Food Good Taste Plus : CFGT+)  โครงการพัฒนาคุณภาพน้ำดื่มสะอาดปลอดภัย เพื่อส่งเสริมสุขอนามัยจากแหล่งผลิตและสถานที่สาธารณะ 22

23 ตามตัวชี้วัด โครงการพัฒนาสถานประกอบอาหารผู้ป่วยใน
โรงพยาบาลให้ได้มาตรฐานกรมอนามัย โครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ด้านการจัดการสุขาภิบาลอาหารและการจัดการคุณภาพน้ำบริโภค โครงการเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ปี 2557 23

24 ภารกิจ โครงการจัดทำหลักเกณฑ์มาตรฐานกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
โครงการประชุมสัมมนารับฟังความคิดเห็นในการปรับปรุง (ร่าง)กฎกระทรวงว่าด้วยสุขลักษณะสถานที่จำหน่ายอาหาร พ.ศ.... โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สัมผัสอาหารและ จัดทำบัตรประจำตัวผู้สัมผัสอาหารใน อปท.ต้นแบบ โครงการพัฒนาศักยภาพ จนท.ผู้ปฏิบัติงานด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ 24

25 ภารกิจ โครงการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์งานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
โครงการรณรงค์ ลด ละ เลิกการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหารในโรงอาหารและตลาดนัดในสธ. โครงการพัฒนาดัชนีชี้วัดสภาวการณ์สุขาภิบาลอาหาร โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศการเฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหารและน้ำ โครงการพัฒนาคุณภาพและส่งเสริมการจัดการ น้ำสะอาดเพื่อการบริโภค 25

26 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt ทิศทางการดำเนินงาน สุขาภิบาลอาหารและคุณภาพน้ำบริโภค ปี 2557

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google