ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยHarriet Sanders ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
และการเบิกจ่ายงบประมาณ ปี 2559 แผนงาน โครงการ งบประมาณ
ผลการดำเนินงาน และการเบิกจ่ายงบประมาณ ปี 2559 และ แผนงาน โครงการ งบประมาณ ปี 2560 ของกรมการข้าว
2
และการเบิกจ่ายงบประมาณ ปี 2559
1/18/2019 4:39 AM ผลการดำเนินงาน และการเบิกจ่ายงบประมาณ ปี 2559 ของกรมการข้าว © 2007 Microsoft Corporation. All rights reserved. Microsoft, Windows, Windows Vista and other product names are or may be registered trademarks and/or trademarks in the U.S. and/or other countries. The information herein is for informational purposes only and represents the current view of Microsoft Corporation as of the date of this presentation. Because Microsoft must respond to changing market conditions, it should not be interpreted to be a commitment on the part of Microsoft, and Microsoft cannot guarantee the accuracy of any information provided after the date of this presentation. MICROSOFT MAKES NO WARRANTIES, EXPRESS, IMPLIED OR STATUTORY, AS TO THE INFORMATION IN THIS PRESENTATION.
3
ผลการดำเนินงาน และการเบิกจ่ายงบประมาณ ปี 2559 ผลการเบิกจ่าย (ล้านบาท)
ข้อมูล ณ วันที่ 31 ส.ค. 59 โครงการ ผลงาน (%) ผลการเบิกจ่าย (ล้านบาท) ข้อคิดเห็น งปม. เบิกจ่าย % เฉลี่ย 93.11 1, 1, 88.16 1. วิจัยและพัฒนาการเก็บรักษาและตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าว 100 9.624 9.507 98.78 2. ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพด้านการเกษตรในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 81 17.915 17.495 97.66 3. โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง 78 20.000 17.002 85.01 4. โครงการหลวง 70 13.114 9.303 70.94 5. ผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี 86.00 99.72 6. สารวัตรเกษตร 5.000 4.742 94.84 7. สำรองเมล็ดพันธุ์ข้าวเพื่อความมั่นคงแห่งชาติ 4 2.996 1.039 34.70
4
ผลการเบิกจ่าย (ล้านบาท)
โครงการ ผลงาน (%) ผลการเบิกจ่าย (ล้านบาท) ข้อคิดเห็น งปม. เบิกจ่าย % 8. ป้องกันกำจัดศัตรูข้าวแบบบูรณาการ 73 4.622 4.346 94.03 9. ตรวจรับรองเมล็ดพันธุ์ข้าว 77 8.000 7.049 88.12 10. ส่งเสริมการผลิตข้าวด้วยรูปแบบเปียกสลับแห้ง 100 2.000 1.990 99.53 11. ขยายเขตศักยภาพการผลิตข้าว 1.200 61.00 12. ศูนย์ข้าวชุมชน 59 19.998 19.302 96.52 ให้ความสำคัญในเรื่องของคุณภาพเมล็ดพันธุ์และประสิทธิภาพการกระจายเมล็ดพันธุ์ของศูนย์ข้าว 13. ธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าว 83 20.000 19.344 96.72 14. ส่งเสริมการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวในครัวเรือน 97 14.740 13.504 91.61 15.ลดต้นทุนการผลิตข้าว 58 44.460 39.162 88.08 16. จัดทำฐานข้อมูลการผลิตข้าวรายแปลง 1.292 64.64
5
ผลการเบิกจ่าย (ล้านบาท)
โครงการ ผลงาน (%) ผลการเบิกจ่าย (ล้านบาท) ข้อคิดเห็น งปม. เบิกจ่าย % 17. สร้างและพัฒนาชาวนารุ่นใหม่ 72 2.500 2.021 80.85 18. สืบสานและพัฒนาอาชีพการทำนา 94 9.880 8.017 81.14 19. อันเนื่องมาจากพระราชดำริ 84 35.131 27.119 77.19 20. ศูนย์บริการชาวนา 138 1.000 0.880 88.01 21. ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตข้าว 58 44.460 39.162 88.08 ควรจัดกิจกรรมการถ่ายทอดความรู้ให้แก่เกษตรกรและการวางแผนการผลิตในช่วงต้นปีงบประมาณและก่อนฤดูการทำนา เพื่อให้เกษตรกรเข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง 22. ส่งเสริมการผลิตข้าวตลาดเฉพาะและเชื่อมโยงการตลาด 52.406 51.118 97.54 23. พัฒนาและส่งเสริมระบบการผลิตข้าวอินทรีย์ครบวงจร 85 10.382 8.257 79.54 ด้านบรรจุภัณฑ์ เกษตรกรยังไม่ดำเนินการ เนื่องจากส่วนใหญ่ขายข้าวเปลือกเป็นหลัก
6
ผลการเบิกจ่าย (ล้านบาท)
โครงการ ผลงาน (%) ผลการเบิกจ่าย (ล้านบาท) ข้อคิดเห็น งปม. เบิกจ่าย % 24. Pre Gap 77 40.625 38.661 95.17 25. Gap ควรเร่งรัดและปรับปรุงการออกใบรับรองฯให้สอดคล้องกับความต้องการของเกษตรกรที่จะนำผลผลิตข้าวไปใช้ประโยชน์ 26. วิจัยและพัฒนาข้าว 100 83.33
7
ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ปี 2559
ข้อมูล ณ วันที่ 16 ก.ย. 59 หน่วย: ล้านบาท ประเภทรายจ่าย ได้รับ เบิกจ่ายรวม PO % เบิกจ่าย ภาพรวม 2, 1, 89.54 ประจำ 1, 1, 88.23 ลงทุน 97.33 ที่มา :ระบบ GFMIS
8
ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ปี 2559 จำแนกรายงบ งปม. หลังโอนเปลี่ยนแปลง
ข้อมูล ณ วันที่ 16 ก.ย. 59 หน่วย: ล้านบาท ประเภทรายจ่าย งปม. หลังโอนเปลี่ยนแปลง เบิกจ่ายรวม PO % เบิกจ่าย งบบุคลากร 96.69 งบดำเนินงาน 1,125.64 927.53 82.40 งบลงทุน 97.32 งบอุดหนุน 0.051 0.050 98.03 งบรายจ่ายอื่น 5.251 4.766 90.76 รวม 2, 1, 89.54 ที่มา :ระบบ GFMIS
9
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณ ปี 2559 จำแนกตามผลผลิต/โครงการ
ข้อมูล ณ วันที่ 16 ก.ย. 59 หน่วย: ล้านบาท ผลผลิต/โครงการ จัดสรร เบิกจ่ายรวม PO % การเบิกจ่าย 1.โครงการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรสู่มาตรฐาน 60.90 2.ผลผลิต การวิจัยและพัฒนาข้าว 97.46 3. ผลผลิต การผลิตสินค้าข้าวได้รับการส่งเสริม และพัฒนา 1, 1, 95.21 4. โครงการหลวง 13.115 12.297 93.75 5.โครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 17.915 16.487 92.03 รวม 2, 1, 89.54 ที่มา :ระบบ GFMIS
10
แผนงาน โครงการ งบประมาณ ปี 2560
1/18/2019 4:39 AM แผนงาน โครงการ งบประมาณ ปี 2560 ของกรมการข้าว © 2007 Microsoft Corporation. All rights reserved. Microsoft, Windows, Windows Vista and other product names are or may be registered trademarks and/or trademarks in the U.S. and/or other countries. The information herein is for informational purposes only and represents the current view of Microsoft Corporation as of the date of this presentation. Because Microsoft must respond to changing market conditions, it should not be interpreted to be a commitment on the part of Microsoft, and Microsoft cannot guarantee the accuracy of any information provided after the date of this presentation. MICROSOFT MAKES NO WARRANTIES, EXPRESS, IMPLIED OR STATUTORY, AS TO THE INFORMATION IN THIS PRESENTATION.
12
กราฟแสดงสถิติงบประมาณที่ได้รับของกรมการข้าว ปี 2550-2560
งบประมาณ (ล้านบาท) งบประมาณประจำปี (พ.ศ.)
13
งบประมาณจำแนกตามงบรายจ่าย
ประเภทรายจ่าย งบประมาณ (ล้านบาท) ปี 2559 ปี 2560 เพิ่ม/ลด ร้อยละ งบบุคลากร 0.8413 งบดำเนินงาน 1, 1, งบลงทุน งบเงินอุดหนุน 0.0510 3.5495 3.4985 6, งบรายจ่ายอื่น 5.2507 5.2408 0.1885 รวมทั้งสิ้น 2, 2, 0.7858
14
สรุปงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2560
งบประมาณทั้งสิ้น 2, ล้านบาท ล้านบาท 1. แผนงานบุคลากรภาครัฐ 2. แผนงานพื้นฐานด้านการส่งเสริมความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ 2.1. ผลผลิตการวิจัยและพัฒนาข้าว 2.2. ผลผลิตการผลิตสินค้าข้าวได้รับการส่งเสริมและพัฒนา 3. แผนงานยุทธศาสตร์ 3.1. แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาเกษตรกรรมยั่งยืน และเสริมสร้างความเข้มแข็งของเกษตรกร อย่างเป็นระบบ 3.2. แผนงานยุทธศาสตร์ส่งเสริมประสิทธิภาพ การผลิตการสร้างมูลค่าสินค้าเกษตร และอุตสาหกรรมอาหาร งบประมาณภารกิจ (Function) 1, ล้านบาท ล้านบาท 1. แผนงานบูรณาการขับเคลื่อน การแก้ไขปัญหาจังหวัด ชายแดนภาคใต้ 2. แผนงานบูรณาการส่งเสริม การวิจัยและพัฒนา งบประมาณบูรณาการ (Agenda) ล้านบาท
15
เปรียบเทียบงบประมาณปี 2559 กับปี 2560
กลุ่มงบประมาณ 2559 2560 +เพิ่ม -ลด ล้านบาท ร้อยละ 1. กลุ่มงบประมาณตามภารกิจ (Function) 2, 1, 1.30 1.1 แผนงานบุคลากรภาครัฐ +0.07 1.2 แผนงานพื้นฐานด้านการส่งเสริม ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 7.45 1.3 แผนงานยุทธศาสตร์ 2.34 -แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาเกษตรกรรม ยั่งยืนและเสริมสร้างความเข้มแข็งของ เกษตรกรอย่างเป็นระบบ 0.46 -แผนงานยุทธศาสตร์ส่งเสริมประสิทธิภาพ การผลิต การสร้างมูลค่าสินค้าเกษตรและ อุตสาหกรรมอาหาร 9.50 2. กลุ่มงบประมาณบูรณาการ (Agenda) +20.63 2.1 แผนงานบูรณาการขับเคลื่อน การแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ +20.91 2.2 แผนงานบูรณาการส่งเสริม การวิจัยและพัฒนา +20.61 รวม 2, 2, 0.7858
16
1. กลุ่มงบประมาณตามภารกิจ (Function)
1.1 แผนงานบุคลากรภาครัฐ ( ลบ.) รายการ งบประมาณ (ล้านบาท) 1. เงินเดือนประจำ (ข้าราชการ,ลูกจ้างประจำ) 2. เงินอื่นๆที่จ่ายควบ (เงินประจำตำแหน่ง,ค่าเช่าบ้าน, เงินตอบแทนเดือน ฯลฯ) 3. ค่าตอบแทนพนักงานราชการ 4. เงินสมทบประกันสังคม 9.9970 5. ค่าตอบแทนให้ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ 1.3904 รวม
17
1. กลุ่มงบประมาณตามภารกิจ (Function) (ต่อ)
1.2 แผนงานพื้นฐานด้านการส่งเสริมความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ ( ลบ.) 1.2.1 ผลผลิตการวิจัยและพัฒนาข้าว ( ลบ.) งบดำเนินงาน ลบ. /งบลงทุน ลบ. 1. โครงการเพิ่มสมรรถนะการวิจัยและพัฒนา (27 ศูนย์) 2. โครงการสถาบันวิจัยข้าวแห่งชาติ (เป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานของสถาบัน) 3. โครงการธนาคารเชื้อพันธุ์ข้าว (Gene Bank 17,000 ตัวอย่าง) 4. โครงการทดสอบและปัจจัยการผลิต (ทดสอบสายพันธุ์ข้าว 100 สายพันธุ์ รับรอง พันธุ์ข้าว 1-2 พันธุ์) 5. โครงการทดสอบการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวด้วยการจัดการน้ำ แบบเปียก สลับแห้ง (พื้นที่ 200 ไร่)
18
1. กลุ่มงบประมาณตามภารกิจ (Function) (ต่อ)
1. โครงการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าว คัด/หลัก/ขยาย/จำหน่าย (83,000 ตัน) 2. โครงการส่งเสริมและพัฒนาการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวในชุมชน (100 ชุมชน 10 ธนาคาร) 3. โครงการสร้างความเข้มแข็งของผู้ผลิตและจำหน่ายเมล็ดพันธุ์ข้าว (69 ร้านค้า 50 ชมรม) 4. โครงการกำหนดเขตศักยภาพการผลิตข้าว (5 กลุ่มพันธุ์) 5. โครงการเฝ้าระวังเพื่อเตือนภัยและป้องกันศัตรูข้าว (37 ศูนย์ 40 จุด) 6. โครงการสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชาวนาและองค์กรชาวนา (ชาวนาปราดเปรื่อง 450 ราย ชาวนารุ่นใหม่ 520 ราย) 7. โครงการเพิ่มขีดความสามารถให้แก่ชาวนา (จัดทำสถานีเรียนรู้ 12 สถานี บริการเคลื่อนที่แบบเบ็ดเสร็จ ครั้ง) 8. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศด้านข้าว (ข้อมูลสถานการณ์ข้าว 1 ระบบ,โปรแกรมประยุกต์ บนมือถือ 1 แอพ) 9. โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริและพัฒนาพื้นที่เฉพาะ (55,000 ราย) 1.2.2 ผลผลิตการผลิตสินค้าข้าวได้รับการส่งเสริมและพัฒนา ( ลบ.) งบดำเนินงาน ลบ. /งบลงทุน ลบ. / งบอุดหนุน ลบ./ งบรายจ่ายอื่น ลบ.
19
1. กลุ่มงบประมาณตามภารกิจ (Function) (ต่อ)
1.3 แผนงานยุทธศาสตร์ ( ลบ.) 1.3.1 แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาเกษตรกรรมยั่งยืน และเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของเกษตรกรอย่างเป็นระบบ ( ลบ.) 1. โครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง (600 ราย ) 2. โครงการเกษตรอินทรีย์ (4,000 แปลง) 3. โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร(ศพก.) (463 ศูนย์) 4. โครงการขยายศักยภาพการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว (เดิม 5 ศูนย์ ใหม่ 1 ศูนย์) 5. โครงการระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ (เดิม 301 แห่ง ใหม่ 50 แห่ง) 1.3.2 แผนงานยุทธศาสตร์ส่งเสริมประสิทธิภาพการผลิต การสร้างมูลค่าสินค้า เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร ( ลบ.) 1.โครงการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรสู่มาตรฐาน (GAP ,GI 40,000 แปลง 140 กลุ่ม GAP- Seed 1,500 ราย 70 กลุ่ม GMP/HACCP 20 โรง) 2.โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าว ( 2 ผลิตภัณฑ์) 3.โครงการส่งเสริมและพัฒนาการผลิตข้าวตลาดเฉพาะ ( 100 กลุ่ม / 3,000 ราย)
20
2.กลุ่มงบประมาณบูรณาการ (Agenda)
2.1 แผนงานบูรณาการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหา จังหวัดชายแดนภาคใต้ ( ลบ.) โครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรในจังหวัดชายแดนภาคใต้ (เกษตร 5,760 ราย พื้นที่ 23,050 ไร่) กิจกรรมฟื้นฟูนาร้าง เพื่อปลูกข้าว พื้นที่ ,000 ไร่ ชาวนา 5,000 ราย กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวในพื้นที่เหมาะสม (Zoning) พื้นที่ ,100 ไร่ ชาวนา ราย กิจกรรมส่งเสริมการผลิตข้าวพื้นเมือง พื้นที่ ไร่ ชาวนา ราย กิจกรรมส่งเสริมการผลิตข้าวปลอดภัย พื้นที่ ไร่ ชาวนา ราย
21
2.กลุ่มงบประมาณบูรณาการ (Agenda) (ต่อ)
2.2 แผนงานบูรณาการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา ( ลบ.) 2.2.1 วิจัยพื้นฐาน 4 แผนงาน 5 โครงการ ( ลบ.) 4 แผนงาน 1. การค้นหาตำแหน่งยีนและพัฒนาสายพันธุ์ข้าวด้วยอณูชีววิธี) 2. การควบคุมโรคสำคัญของข้าวโดยชีววิธี 3. การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อรักษาคุณภาพข้าว และความปลอดภัยอาหาร 4. การปรังปรุงพันธุ์ข้าวให้ทนทานต่อสภาพดินมีปัญหา 5 โครงการ 1. การค้นหายีนควบคุมไบโอไทป์เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลและการปรับตัวเข้าทำลายพันธุ์ข้าว ต้านทาน 2. การคัดเลือกและทดสอบผลผลิตสายพันธุ์ข้าวทนแล้งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3. การวิเคราะห์การแสดงออกของยีน Lsi พันธุ์ข้าวไทยและความเปลี่ยนแปลง ทางด้าน สัณฐานวิทยาและเมแทบอลมิกส์ของข้าวที่ได้รับซิลิกอน 4. เทคโนโลยีการผลิตข้าวนาชลประทานแบบคาร์บอนต่ำในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมตาม ศักยภาพการผลิตข้าวภาคกลาง 5. การศึกษาชีววิทยา ปัจจัยการระบาด และการเป็นแมลงพาหะนำโรคไวรัส/ ไฟโตพลาสมา ของเพลี้ยจักจั่นหัวสีส้มและเพลี้ยจักจั่นขาวใหญ่ ในข้าวและข้าวสาลี 21
22
2.กลุ่มงบประมาณบูรณาการ (Agenda) (ต่อ)
2.2.2 วิจัยประยุกต์ 3 แผนงาน 4 โครงการ ( ลบ.) 3 แผนงาน การปรับปรุงพันธุ์ข้าวไวต่อช่วงแสง ให้ต้านทานโรคและแมลงที่สำคัญอย่างหลากหลายสำหรับพื้นที่นาน้ำฝน 2. การปรับปรุงพันธุ์ข้าวสำหรับพื้นที่น้ำท่วม 3. การอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรพันธุกรรมข้าว 4 โครงการ 1. ปริมาณสารฟีนอลิคและผลของการเก็บรักษาในพันธุ์ข้าวไทย 2. ผลของสารเคมีป้องกันกำจัดแมลงและสารกำจัดวัชพืชบางชนิด ที่ใช้ในนาข้าวต่อศัตรู ธรรมชาติและศัตรูข้าว 3. รูปแบบการทำลายของศัตรูข้าวภายใต้การเขตกรรมที่ต่างกันในนิเวศนาชลประทาน 4. การศึกษาชีววิทยาและนิเวศวิทยาของสัตว์ศัตรูข้าว เพื่อการบริหาร จัดการสัตว์ศัตรูใน นิเวศนาอย่างมีประสิทธิภาพ
23
2.กลุ่มงบประมาณบูรณาการ (Agenda) (ต่อ)
2.2.3 วิจัยและพัฒนา 5 แผนงาน 2 โครงการ ( ลบ.) 1. การปรับปรุงและรักษาคุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าว 2. การพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับพื้นที่การผลิตข้าว 3. การพัฒนาพันธุ์ข้าวนาชลประทานผลผลิตสูง ต้านทานโรคแมลงที่สำคัญทนทานต่อสภาพ อากาศที่ไม่เหมาะสม 4. การพัฒนาพันธุ์ข้าวรูปลักษณ์ใหม่เพื่อเพิ่มศักยภาพผลผลิต 5. ชุดเทคโนโลยีสำหรับการใช้เครื่องปักดำเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ต้นกล้าและเมล็ดพันธุ์ข้าว 5 แผนงาน 1. การปรับปรุงสายพันธุ์ข้าวลูกผสมระบบ 3 สายพันธุ์ให้ผลผลิตสูงต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล และโรคขอบใบแห้ง 2. การพัฒนาข้าวพื้นเมืองเพื่อเพิ่มมูลค่าในพื้นที่เฉพาะถิ่นในภาคใต้ 2 โครงการ
24
มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ 2560
เพื่อให้การใช้จ่ายภาครัฐเป็นปัจจัยสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศและเพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายการเบิกจ่ายรายจ่ายภาพรวมจึงกำหนดเป้าหมายการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2560 ดังนี้ เป้าหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 รวม ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 ภาพรวมประมาณร้อยละ 96% 30% 22% 21% 23% รายจ่ายประจำประมาณร้อยละ 98% 33% รายจ่ายลงทุนประมาณร้อยละ 87% 19% 24%
25
การดำเนินงานตามมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ 2560 (กรมการข้าว)
เพื่อให้สามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายการเบิกจ่ายเป็นรายไตรมาส กรมการข้าว จึงกำหนดมาตรการเร่งรัดการใช้จ่ายงบประมาณปี 2560 ไว้ดังนี้ 1. รายจ่ายประจำ ให้เริ่มดำเนินงานและเริ่มเบิกจ่ายงบประมาณได้ตั้งแต่ ไตรมาสที่ 1 1.2 รายจ่ายที่เป็นค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม ประชุมและสัมมนาให้เบิกจ่ายในไตรมาสที่ 1 ให้สามารถเบิกจ่ายได้ในไตรมาสที่ 1 ให้มากที่สุดหรือไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 ของงบประมาณที่ได้รับจัดสรร 2 รายจ่ายลงทุน 2.1รายจ่ายลงทุน ให้ทุกหน่วยงานเริ่มกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างได้ เมื่อคณะกรรมาธิการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ 2560 แล้วเสร็จ (25 สิงหาคม 2559) โดยจะก่อหนี้ผูกพันได้ก็ต่อเมื่อได้รับอนุมัติเงินประจำงวดแล้ว ที่มา : กค(กวพ) /ว299 : กค๖กวพ๗ /ว255
26
การดำเนินงานตามมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ 2560 (ต่อ)
2.2 รายจ่ายลงทุน ปีเดียวจะต้องก่อหนี้ผูกพันให้แล้วภายในไตรมาสที่ 1 และหากเป็นรายการที่มีวงเงินต่อรายการไม่เกิน 2 ล้านบาทให้เบิกจ่ายตามมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจภายในไตรมาสที่ 1 ยกเว้น รายการที่มีคุณลักษณะพิเศษหรือจัดหาจากต่างประเทศ ส่วนรายจ่ายลงทุนที่มีวงเงินต่อรายการเกิน1,000 ล้านบาท และรายจ่ายลงทุนผูกพันรายการใหม่จะต้องก่อหนี้ผูกพันให้แล้วเสร็จภายในไตรมาสที่ 2 * ทั้งนี้เพื่อให้สามารถเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนได้ตั้งแต่ไตรมาสที่ 1 ขอให้หน่วยงานกำหนดแบ่งงวดงานและเบิกจ่ายรายการสิ่งก่อสร้างปีเดียวให้เหมาะสมกับการปฏิบัติงานจริง 3. โอนจัดสรรเงินงบประมาณไปยังส่วนภูมิภาค ภายใน 3 วันทำการ (ไม่เกินวันที่ 7 ตุลาคม 2559)
27
แนวทางการจัดสรรงบประมาณประจำปีงบประมาณ 2560
1. รายจ่ายประจำขั้นต่ำที่จำเป็นจะจัดสรรเต็มจำนวนตามที่ สงป. จัดสรรภายใต้แผนงานบุคลากรภาครัฐ โดยแบ่งเป็น 1.1 เงินเดือนค่าจ้างประจำ 1.2 งบสาธารณูปโภคจัดสรรตามฐานปี 2559 เกณฑ์จัดสรร พิจารณาตามศูนย์หลัก/ศูนย์รอง 2. งบลงทุนจะจัดสรรให้เต็มจำนวนทุกรายการ 3. งบอุดหนุนและรายจ่ายอื่นจะจัดสรรให้เต็มจำนวนตามที่ สงป. จัดสรรให้ 4. การจัดสรรงบดำเนินงานจัดสรรแผนและผลเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ตามที่หน่วยงานเสนอขอรับจัดสรร ใน 6 เดือนแรกเพื่อให้การใช้ จ่ายเงินงบประมาณมีประสิทธิภาพเกิดประโยชน์สูงสุดจึงกำหนด แนวทางการบริหารเงินงบประมาณประจำปีงบประมาณ 2560 ดังนี้
28
1. เงินงบประมาณเหลือจ่าย 1
1.เงินงบประมาณเหลือจ่าย 1.1 เงินงบประมาณเหลือจ่ายจากการฝึกอบรมประชุมและสัมมนา ตามวงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร หากดำเนินการเสร็จสิ้นแล้วและมีเงินเหลือให้โอนคืนกรมการข้าว 1.2 เงินงบประมาณเหลือจ่ายจากรายการครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้างที่ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างได้ผลเป็นที่ยุติแล้ว โดยไม่มีผลผูกพันที่จะต้องใช้จ่ายเงินงบประมาณในรายการนั้นอีก ให้โอนคืนกรมการข้าว 1.3 เงินงบประมาณเหลือจ่ายจากการดำเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายตาที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณแล้ว (งบโครงการ) ให้โอนคืนสำนักกองเจ้าของงบประมาณ ภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2. กรมการข้าวไม่มีนโยบายโอนเปลี่ยนแปลงงบดำเนินงานเป็นงบลงทุน 3. การโอนจัดสรรเงินงบประมาณเพิ่มเติมให้กับหน่วยงาน (งบโครงการ) ให้โอนจัดสรรได้ไตรมาส ละ 1 ครั้ง ก่อนวันที่ 15 ของเดือน 4. ขอรับการจัดสรรงบสนับสนุนจากการกรมการข้าว (เงินกันสำรอง) ให้ เสนอขอในภาพรวมทั้งปีครั้งเดียวเพื่อจะได้บริหารจัดการได้อย่าง เหมาะสม 5. เงินงบประมาณรายโครงการที่กันสำรองให้กรมการข้าว ร้อยละ 10 ให้ สำนัก/กอง เจ้าของงบประมาณร่วมกับ สนย. ในการบริหารงบประมาณ โดยให้เสนอขออนุญาตจากกรมการข้าวผ่าน สนย.
29
แนวทางการปรับปรุงและพัฒนางาน
ของกรมการข้าว ทำ EA (Enterpice Architerture) 1. การจัดทำโครงการ - ออกแบบงานโครงการ และงานอำนวยการ - ทบทวนประเมินผลโครงการที่ดำเนินการปัจจุบัน (ตัด ลด รวม เพิ่ม) - จัดทำโครงการเน้อสำคัญๆ มีผลลัพธ์สูง ผ่านกระบวนการ พิจารณาร่วมทุกภาคส่วน และมีการเตรียมการ จัดทำโครงการเป็นอย่างดี โดยเฉพาะประเด็น 1. วิธีการต้องไม่ซับซ้อน 2. การกำหนดปริมาณต้องไม่เกินกำลัง 3. การกำหนดพื้นที่เป้าหมายต้องชัดเจน - นำ IT มาช่วยทำงานให้มากขึ้นทั้งการปฏิบัติงาน การสื่อสาร และการติดตามประเมินผล Business IT 3. การจัดทำยุทธศาสตร์ข้าว ระยะ 20 ปี ภายใต้แนวคิด - จัดประชุมชี้แจงนโยบายและแนวทางการ ปฏิบัติงานแก่เจ้าหน้าที่ทุกระดับ 5 ครั้ง ส่วนกลาง 1 ครั้ง ภูมิภาค 4 ครั้ง (ให้แต่ละ โครงการเพิ่มค่าใช้จ่ายบุคคลเป้าหมายให้ ครอบคลุม เช่น จ้างเหมา) - เพิ่มประสิทธิภาพในการจัดสรรและโอนเงิน งบประมาณไปยังส่วนภูมิภาค 2. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ งบประมาณและการขับเคลื่อนงาน From Peasant to Smart Farmer ชาวนายากไร้ ชาวนาปราดเปรื่อง From Traditional Farming to Smart Farming ทำนาแบบดั้งเดิม ทำนาอย่างชาญฉลาด From Product to Smart Product ผลผลิตมีคุณภาพ ผลผลิตมีคุณภาพเป็นเลิศ
30
ขอบคุณ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.