ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยYuliani Lie ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
ผลการดำเนินงาน กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ ปีงบประมาณ 2558
ผลการดำเนินงาน กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ ปีงบประมาณ 2558 น.ส. ภารดี ลลิตกิตติกุล งานฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ สปสช.เขต 3 นครสวรรค์
4
KPI ส่วนกลาง >= 90%
5
ผลการฝึกไม้เท้าขาวคนตาบอด (O&M) (ข้อมูล ณ พ.ย.58)
รพ.ศูนย์ฝึก เป้าหมายตามงบที่จัดสรร ปี’53-58 (คน) จำนวนคน ได้รับการฝึก คงเหลือ ตาคลี 450 370 801 กำแพงเพชร 500 ชัยนาทนเรนทร 280 230 502 อุทัยธานี 140 100 403 พิจิตร 210 150 604 รวม 1,580 1,350 1 30 รายฝึกภายใน ธค.58 และ 50 ราย ภายใน กย. 59 2 50 รายฝึกภายในเดือน กย. 59 3 จะฝึกทั้งหมดภายในเดือน เมย.59 4 จะฝึกทั้งหมดภายในเดือน กย. 59
6
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพฯระดับจังหวัด
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพระดับจังหวัด จำนวนงบประมาณสะสม และร้อยละการใช้งบ ณ ก.ย.58 กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพฯระดับจังหวัด งบสะสม (ลบ.) งบสะสมใช้ไป (ลบ.) ร้อยละการใช้งบ จ. กำแพงเพชร 18 12.8 71 จ. อุทัยธานี 8 5.3 66 จ. ชัยนาท 15.4 9.4 61 จ. พิจิตร 16 4.4 27.5 ค่าเฉลี่ย 56.38
7
จังหวัด จำนวนเงิน (พันบาท) จำนวนชิ้นอุปกรณ์ ชัยนาท 973 86 นครสวรรค์ 918 249 อุทัยธานี 908 191 พิจิตร 448 57 กำแพงเพชร 377 55 ผลรวมทั้งหมด 3,624 638
11
จิตบำบัด (รหัสรายบุคคล) 10,051 9,024 1,027
ประเภทบริการ ผลรวมทั้งหมด ผู้ป่วยนอกรวม รพ.สต. (OP) ในชุมชน/บ้านผู้ป่วย กายภาพบำบัด 77,698 66,848 10,850 จิตบำบัด (รหัสรายบุคคล) 10,051 9,024 1,027 กิจกรรมบำบัด (รหัสรายบุคคล) 2,838 2,539 299 พฤติกรรมบำบัด (รหัสรายบุคคล) 2,069 จิตบำบัด (รหัสรายกลุ่ม) 1,559 1,558 1 การฟื้นฟูการได้ยิน 903 Early Intervention (รหัสรายบุคคล) 700 699 การแก้ไขการพูด (รหัสรายบุคคล) 163 การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการเห็น (รหัสรายบุคคล) 57 Phenol block 5 กิจกรรมบำบัด (รหัสรายกลุ่ม) 3 พฤติกรรมบำบัด (รหัสรายกลุ่ม) Early Intervention (รหัสรายกลุ่ม) 96,050 83,872 12,178
12
นอกหน่วยบริการ/ในชุมชน รวมจำนวนเงินที่ต้องจ่าย ตามผลงานการให้บริการ
ประเภทบริการ ผู้ป่วยนอก จำนวนเงิน นอกหน่วยบริการ/ในชุมชน กายภาพบำบัด 66,848 10,027,200 10,850 2,170,000 จิตบำบัด (รหัสรายบุคคล) 9,024 2,707,200 1,027 308,100 กิจกรรมบำบัด (รหัสรายบุคคล) 2,539 380,850 299 44,850 พฤติกรรมบำบัด (รหัสรายบุคคล) 2,069 620,700 จิตบำบัด (รหัสรายกลุ่ม) 1,558 233,700 1 150 การฟื้นฟูการได้ยิน 903 135,450 Early Intervention (รหัสรายบุคคล) 699 104,850 การแก้ไขการพูด (รหัสรายบุคคล) 163 24,450 การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการเห็น (รหัสรายบุคคล) 57 8,550 Phenol block 5 2,500 กิจกรรมบำบัด (รหัสรายกลุ่ม) 3 225 พฤติกรรมบำบัด (รหัสรายกลุ่ม) 450 Early Intervention (รหัสรายกลุ่ม) 75 ผลรวม 83,872 14,246,200 12,178 2,523,250 รวมจำนวนเงินที่ต้องจ่าย ตามผลงานการให้บริการ 16,769,450
13
ปัญหา แนวทางแก้ไข 1. นิยามผู้ป่วย subacuteไม่ชัดเจน ทำให้มีความเข้าใจแตกต่างกัน ส่งผลต่อการคีย์ข้อมูลลงในโปรแกรมฯของกลุ่มนี้ในแต่ละหน่วยบริการมีความแตกต่างกันมาก ทำให้ได้รับเงินค่าบริการต่างกัน จัดประชุมคณะทำงานฯ เพื่อร่วมกันกำหนดนิยาม ขอบเขต ความชัดเจน ก่อนชี้แจงงบฟื้นฟูฯปี 59 ให้หน่วยบริการรับทราบ 2. นิยามบริการฟื้นฟูบางประเภทมีการตีความแตกต่างกัน เช่น กายภาพบำบัด ส่งผลต่อการคีย์ข้อมูลลงในโปรแกรมฯ มีความแตกต่างกัน 3. โปรแกรมจ่ายอุปกรณ์และบริการ ไม่มีการล็อคกลุ่มผู้ป่วย subacute ยากต่อการวิเคราะห์ข้อมูล และการจ่ายเงินตามผลงาน แจ้งปัญหา ประชุมร่วมกับงานฟื้นฟูฯ และงาน ITส่วนกลาง เพื่อให้ดำเนินการแก้ไขปรับปรุง
14
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2559
15
เป้าประสงค์ งบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิต
คนพิการ ผู้สูงอายุที่จำเป็นต้องได้รับการ ฟื้นฟูสมรรถภาพ และ ผู้ป่วยที่จำเป็นต้องได้รับการ ฟื้นฟูสมรรถภาพ (ผู้ป่วย sub-acute) ให้ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร เป้าประสงค์ เป้าหมายการฟื้นฟู เพิ่มการเข้าถึงอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ และบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ - ในหน่วยบริการสาธารณสุข - ในชุมชน ในระบบบริการทางเลือกอื่นๆ รูปแบบการบริการฯ
16
กลุ่มเป้าหมาย ประชากรผู้มีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (UC) ในกลุ่ม : คนพิการ (ท.74, R.74) ผู้สูงอายุที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ (ท.77) ผู้ป่วยภายหลังการเจ็บป่วยเฉียบพลันและอยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ(sub-acute)*
17
*นิยามผู้ป่วยระยะกึ่งเฉียบพลัน (sub-acute)
เป็นผู้ป่วยที่มีภาวะสูญเสียสมรรถภาพจากการเจ็บป่วยในระยะเวลาไม่เกิน 6 เดือน เป็นผู้ป่วยในกลุ่มโรคดังนี้ (ข้อตกลงคณะทำงานเขตฯ ปี59) 2.1 กลุ่มโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) 2.2 กลุ่มโรคจากภาวะบาดเจ็บที่สมอง (Traumatic Brain Injury (TBI)) 2.3 กลุ่มโรคจากภาวะไขสันหลังได้รับบาดเจ็บ (spinal cord injury) 2.4 กลุ่มขาขาด จากโรค หรือจากอุบัติเหตุ 2.5 กลุ่มกระดูกขาหัก 2.6 กลุ่มโรคซึมเศร้ารุนแรง 3. การให้บริการฟื้นฟูฯ จะให้บริการต่อเนื่องระยะเวลา 6 เดือน โดยนับ จากวันที่เริ่มให้บริการ ***ทั้งนี้ขึ้นกับการวินิจฉัยของแพทย์***
18
งบค่าบริการ/อุปกรณ์ จัดสรรไม่น้อยกว่า 15.58 บาท/ปชก.UC
สิ่งที่แตกต่างจากปี 2558 รายละเอียด ปี 59 1. งบประมาณ งบค่าบริการ/อุปกรณ์ จัดสรรไม่น้อยกว่า บาท/ปชก.UC งบสนับสนุนส่งเสริม จัดสรรไม่เกิน 0.55 บาท/ปชก.UC เกณฑ์คำนวณการจัดสรร ตามจำนวนปชก.UC : ท.74 : ผู้สูงอายุ สัดส่วน 40:35:25 2. การจัดสรร ค่าบริการ งวดที่ 1 : จัดสรรล่วงหน้าไม่เกินร้อยละ 60 ของวงเงิน ภายในเดือน มค.59 ประมาณการจากผลงานที่เกิดขึ้นระหว่างเดือน มิย.57-พค.58 งวดที่ 2 : จัดสรรจริง*ตามผลงานการให้บริการ ภายในเดือน สค.59 พิจารณาจากผลงาน 4 เดือนของปี 58 (มิย.58-กย.58) + ผลงาน 8 เดือนของปี 59 (ตค.58-พ.ค.59) (* point with global budget หากเงินเหลือ โอนให้หน่วยบริการตามจำนวนประชากร)
19
กรอบการบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพฯ ปี 2559
งบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ (16.13 บาทต่อผู้มีสิทธิ ลบ.) POP UC = ลค. งบบริการฟื้นฟูและอุปกรณ์ เครื่องช่วยความพิการ (ไม่น้อยกว่า บ.) ลบ. งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ (ไม่เกิน 0.55 บ.) ลบ. สำหรับหน่วยบริการและกองทุนฟื้นฟูฯระดับจังหวัด ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ (จัดหา ผลิต ซ่อม) ค่าบริการฟื้นฟูสมรรถภาพคน พิการผู้สูงอายุ ผู้ป่วย sub acute (บริการผู้ป่วย OPD และในชุมชน) ค่าฝึกการใช้อุปกรณ์เครื่องช่วย ความพิการ สำหรับหน่วยบริการ และกองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดบริการของหน่วยบริการตามความพร้อม ส่งเสริมศักยภาพองค์กรคนพิการ/ผู้ดูแล ส่งเสริมระบบบริการในชุมชนร่วมกับ อปท. ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนากำลังคนด้านการฟื้นฟู ส่งเสริมการจัดบริการรูปแบบใหม่และพัฒนาองค์ความรู้
20
กรอบวงเงินฟื้นฟูฯ ปี 59 เขต 3 นครสวรรค์ 37.78 ลบ.
จังหวัด งบอุปกรณ์&บริการ งบส่งเสริมสนับสนุนบริการ รวมเงินที่จัดสรรทั้งสิ้น กำแพงเพชร 8,939,913 315,594 9,255,507 ชัยนาท 4,317,791 152,425 4,470,216 นครสวรรค์ 12,274,197 433,300 12,707,497 พิจิตร 6,780,666 239,369 7,020,035 อุทัยธานี 3,895,916 137,532 4,033,448 ผลรวม 36,208,483 1,278,220 37,486,703 จัดสรรล่วงหน้าบริการข้ามเขต 302,087 รวมงบเขต 3 ปี59 37,788,790
21
กรอบการจัดสรรงบฟื้นฟูฯ ปี 59 เขต 3 นครสวรรค์
งบฟื้นฟูฯ ลบ. กองทุนฟื้นฟูฯจังหวัด 8 ลบ. - อุปกรณ์และบริการฯ (รวมเครื่องช่วยฟัง และฝึกไม้เท้าขาวคนตาบอด) - สนับสนุนกำลังคน - สนับสนุนส่งเสริม (จ.นว.) 29.78 ลบ.
22
บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ
บริการฟื้นฟูสมรรถภาพฯและอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ กลุ่มเป้าหมาย บริการอุปกรณ์คนพิการ 1. กายภาพบำบัด 2. กิจกรรมบำบัด 3. แก้ไขการพูด 4. จิตบำบัด 5. พฤติกรรมบำบัด 6. ฟื้นฟูการได้ยิน 7. ฟื้นฟูการเห็น 8. Early intervention 9. Phenol block 1. อุปกรณ์ทางการเคลื่อนไหว - แขนเทียม / ขาเทียม ฯลฯ 2. อุปกรณ์ทางการได้ยิน - เครื่องช่วยฟัง 3. อุปกรณ์ทางการเห็น - ไม้เท้าขาว 4. รองเท้าคนพิการ/เครื่องช่วยเดิน รถนั่งคนพิการ และอื่นๆ คนพิการ ผู้สูงอายุที่จำเป็นต้องฟื้นฟู ผป.sub-acute รายการอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ จำนวน 76 รายการ ผนวก 6.1 P.260 นิยามรายการ กิจกรรม และผู้ให้บริการฟื้นฟูฯ ในคู่มือกองทุนฯปี59 เล่ม 1 ผนวก 6.3 P.311 แขนเทียม/ขาเทียม เบิกเป็นชุดเพียงรหัสเดียว อุปกรณ์มูลค่าสูง ศูนย์สิรินธร 71รายการ P.281
23
งบบริการฟื้นฟูและอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ
1) ค่าบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ เฉพาะผู้ป่วยนอก (OPD และใน รพ.สต.) และในชุมชน (บ้านผู้ป่วย) เกณฑ์การจัดทำข้อมูลเพื่อขอรับการจัดสรร - ข้อมูลส่วนบุคคล, สิทธิ UC, วดป.ที่ให้บริการ - ใช้รหัส วินิจฉัยโรค ตาม ICD-10 - รหัสหัตถการตาม ICD-9-CM การส่งข้อมูล - คีย์ลงโปรแกรมการจ่ายอุปกรณ์และบริการ ภายใน 30 วัน หลังการให้บริการ
24
2) ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ
ให้เฉพาะคนพิการ และไม่เกินราคากลางที่ สปสช.กำหนดในแต่ละเขต ตามบัญชีรายการอุปกรณ์ที่ประกาศ กรณีการให้บริการอุปกรณ์เครื่องช่วยฟังกับคนพิการที่สูญเสียการได้ยิน (1) กำหนดวงเงินไม่เกินร้อยละ 15 ของงบค่าใช้จ่ายเพื่อบริการฟื้นฟูสมรรถภาพและอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ (2) จ่ายตามข้อบ่งชี้ และบัญชีรายการอุปกรณ์ที่ สปสช.ประกาศฯ กรณีการให้บริการฝึกไม้เท้าขาวสำหรับคนพิการทางการมองเห็น จ่ายให้รพ.ที่เป็นศูนย์ฝึก ตามจำนวนกลุ่มเป้าหมายรายละ 9,000 บาท เกณฑ์การจัดทำข้อมูลเพื่อขอรับการจัดสรร - ใช้รหัสวินิจฉัยโรคตาม ICD ใช้รหัสหัตถการตาม ICD-9-CM - ข้อมูลส่วนบุคคล, สิทธิ ท.74, วดป.ที่ให้บริการ การส่งข้อมูล:คีย์ลงโปรแกรมการจ่ายอุปกรณ์และบริการ ภายใน 30 วันหลังให้บริการ
25
งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ
จ.กำแพงเพชร พิจิตร อุทัยธานี ชัยนาท บริหารโดยกองทุนฟื้นฟูจังหวัด จ.นครสวรรค์ บริหารโดย สปสช.เขต ครอบคลุมกิจกรรม ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดบริการของหน่วยบริการตามความพร้อม ส่งเสริมระบบบริการในชุมชนร่วมกับ อปท. ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนากำลังคนด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ ** ส่งเสริมการจัดบริการรูปแบบใหม่และพัฒนาองค์ความรู้ กลุ่มเป้าหมาย - หน่วยบริการที่ขึ้นทะเบียนในระบบ UC ได้แก่ รพ.สต. คลินิกชุมชนอบอุ่น ศูนย์สุขภาพชุมชน รพช. รพท. และ รพศ. เป็นต้น รูปแบบการจ่าย ตามแผนงาน/โครงการที่ได้รับการสนับสนุน ** สปสช.สนับสนุนการจ้างนักกายภาพบำบัดเพื่อลงฟื้นฟูฯในชุมชน 1ปี สำหรับ รพ.ที่ขึ้นทะเบียนใหม่ 120,000 บาท
26
ที่จำเป็นต่อสุขภาพระดับจังหวัด
การบริหารจัดการกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพ ที่จำเป็นต่อสุขภาพระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2559
27
วัตถุประสงค์ เพื่อให้คนพิการ ผู้ป่วยระยะฟื้นฟู และผู้สูงอายุที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพในเขตพื้นที่จังหวัดได้รับบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์รวมทั้งได้รับเครื่องช่วยกายอุปกรณ์ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูฯของหน่วยบริการทุกระดับในจังหวัด ให้สามารถจัดบริการและอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการให้ครอบคลุมและตอบสนองต่อความจำเป็นในชุมชนได้มากขึ้น 3) เพื่อสนับสนุนการพัฒนารูปแบบการดูแล ช่วยเหลือ สนับสนุนและฟื้นฟูสมรรถภาพ 3 กลุ่มเป้าหมายในระดับชุมชนและในครอบครัวเชื่อมโยงกับระบบบริการของหน่วยบริการอย่างทั่วถึงในเขตจังหวัดนั้น
28
วัตถุประสงค์ (ต่อ) เพื่อสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพและความเข้มแข็งขององค์กรคนพิการ และองค์กรผู้สูงอายุ และองค์กรอื่นๆ ให้สามารถร่วมมือกับหน่วยบริการและมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพช่วยเหลือคนพิการ ผู้สูงอายุและผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพด้วยกันเองได้ในระยะยาว เพื่อสนับสนุนให้คนพิการ ผู้ป่วยระยะฟื้นฟู และผู้สูงอายุที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ ได้รับบริการขั้นพื้นฐานให้สามารถดำรงชีวิตประจำวันได้อย่างอิสระ 6) เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนาบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ให้มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ต้องไม่เกินร้อยละ 10 ของค่าใช้จ่ายทั้งหมดของบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ในรอบปีงบประมาณนั้น
29
การสนับสนุนการดำเนินงานกองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด
สปสช.สมทบงบเข้ากองทุนฯภายในเดือน ธ.ค.58 ในสัดส่วนที่ เท่ากับหรือน้อยกว่า ส่วนที่ อบจ.สมทบ กองทุนดำเนินงานตามประกาศหลักเกณฑ์กองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด เน้น - สนับสนุนให้มีศูนย์ผลิต และซ่อมกายอุปกรณ์ - สนับสนุนการสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรคนพิการ - สนับสนุนการดำรงชีวิตอิสระ/การปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อคนพิการ ผู้สูงอายุและผู้ป่วยที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ - สนับสนุนการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพในชุมชนและการพัฒนาคุณภาพชีวิต การติดตามผลการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกองทุนฯ
30
งบอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ
อุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการรับจาก 2 แหล่ง ก.) กองทุนฟื้นฟูฯจังหวัด อุปกรณ์ 14 รายการ ภายใต้แผนงาน/โครงการ โดย รพศ./รพท./รพช. ข.) สปสช.เขต อุปกรณ์อื่นตามบัญชีรายการอุปกรณ์ที่ประกาศและรายการซ่อมแซมนอกเหนือจาก 14 รายการข้างต้น
31
เป้าหมาย ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI ปี 59
Target 1 การเข้าถึงบริการฟื้นฟูฯ ของคนพิการ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟู เพิ่มขึ้นจากปี 2558 20% 2 จำนวนกองทุนฟื้นฟูฯจังหวัดที่มีการบริหารจัดการและส่งเสริมการเข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ 38 กองทุนจังหวัด
32
แหล่งข้อมูลการกำกับติดตาม
รายการ แหล่งข้อมูล 1. บริการฟื้นฟูฯและอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ โปรแกรมรายงานอุปกรณ์คนพิการและการให้บริการฟื้นฟูฯ 2. กองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด โปรแกรมระบบรายงานกองทุนฟื้นฟูฯระดับจังหวัด (กำลังดำเนินการ) 3. งบส่งเสริมสนับสนุนการจัดบริการ รายงานผลงานตามสัญญา/ข้อตกลง/โครงการ 4. ติดตามการใช้จ่ายงบกองทุน Budget report
33
ภารดี ลลิตกิตติกุล (ปู) 0947-956 659
ขอบคุณค่ะ ภารดี ลลิตกิตติกุล (ปู)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.