งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วิชาผู้ภาวะผู้นำทางการพยาบาลและการจัดการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วิชาผู้ภาวะผู้นำทางการพยาบาลและการจัดการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วิชาผู้ภาวะผู้นำทางการพยาบาลและการจัดการ
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2557 2.1 การจัดการเชิงกลยุทธ์ วัตถุประสงค์ ภายหลังเรียนได้เรียนรู้ 1.อธิบายการบริหารองค์การพยาบาลการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ วิเคราะห์กลยุทธ์ SWOT analysis ขององค์การ 2. สามารถวางแผนการบริหารแบบธรรมาภิบาล 3.สามารถวิเคราะห์การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ได้

2 วิชาผู้ภาวะผู้นำทางการพยาบาลและการจัดการ
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2557 2.1 การจัดการเชิงกลยุทธ์ -การวิเคราะห์กลยุทธ์ - SWOT analysis

3 บทที่ 2 การบริหารองค์การพยาบาล
บทที่ 2 การบริหารองค์การพยาบาล ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2557 การจัดการเชิงกลยุทธ์ strategyแผนการปฏิบัติซึ่งวางเพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์จำเพาะ way 

4 บทที่ 2 การบริหารองค์การพยาบาล
บทที่ 2 การบริหารองค์การพยาบาล ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2557 การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ SWOT Analysis คือ การวิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และภัยคุกคาม (อุปสรรค) ในกรอบระยะเวลาที่ต้องการ ทั้งนี้เพื่อประกอบการวางแผนการในการใช้วิธีการ และทรัพยากร เพื่อให้บรรลุเป้าหมายสูงสุด SWOT คือตัวย่อจุดแข็ง (Strength : S) , จุดอ่อน (Weakness : W) , โอกาส (Opportunity : O), แรงกดดัน (Threat : T)

5 วิชาผู้ภาวะผู้นำทางการพยาบาลและการจัดการ
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2556

6 วิชาผู้ภาวะผู้นำทางการพยาบาลและการจัดการ
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2557

7 ารการบ้าน วิชาผู้ภาวะผู้นำทางการพยาบาลและการจัดการ
ารการบ้าน วิชาผู้ภาวะผู้นำทางการพยาบาลและการจัดการ ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2556

8 ขั้นตอนวิเคราะห์ด้วยเทคนิค SWOT มีอยู่ 5 ขั้นตอน คือ
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2557 1.   การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน เช่น ด้าน ทรัพยากร ด้านโครงสร้าง ศักยภาพในหน่วยงาน สภาพแวดล้อมภาพนอก เช่น ด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ซึ่งมีผลกระทบต่อหน่วยงาน 2. กำหนดวิสัยทัศน์ (vision) คือ มองไปให้ไกล กว้างให้ ครบทุกปัจจัยสามารถคิดการณ์ไกลสู่โลกอนาคตได้

9 3. กำหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์และวางแผนพัฒนา หน่วยงาน
ขั้นตอนวิเคราะห์ด้วยเทคนิค SWOT มีอยู่ 5 ขั้นตอน คือ ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2556 3. กำหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์และวางแผนพัฒนา หน่วยงาน 4. การวางแผนยุทธศาสตร์ในการแก้ปัญหา 5. ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจร่วมกันทุกระดับ เพื่อ รองรับสถานการณ์    

10 การพัฒนาการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ ( Strategic management)
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2557 ความหมายแนวคิดการบริหารงานที่เน้นการวางแผนที่ สามารถวัดผลผลิตได้และเป็นการวางแผนที่คำนึงถึง บริบทขององค์กรทั้งภายในและภายนอกขององค์กรเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้องค์กรก้าวทันต่อ การเปลี่ยนแปลง (พูลสุข หิงคานนท์, 2549)   

11 กระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์มีอยู่ 6 ขั้นตอน คือ
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2556 1.การวิเคราะห์ศักยภาพและความพร้อมขององค์กร โดยพิจารณาจุดอ่อน จุดแข็งขององค์กร โอกาสในการพัฒนาและภัยคุกคาม 2. วางทิศทางขององค์กรโดยการกำหนดวิสัยทัศน์ คุณค่าและ พันธกิจ-จุดมุ่งหมายและเหตุผล 3. การกำหนดเป้าหมายขององค์กรและตัวชี้วัดผลลัพธ์ เช่น คุณภาพชีวิตและภาวะสุขภาพของประชาชนผู้รับบริการ

12 กระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์มีอยู่ 6 ขั้นตอน คือ
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2556 4. การกำหนดกลยุทธ์ขององค์กร กำหนดแผนงานหรือโครงการปฏิบัติได้ จริงในองค์กร ระบุระยะเวลาที่ต้องการให้กระทำงานนั้นให้เสร็จสมบูรณ์ ได้แก่ แผนกลยุทธ์ 5. นำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติคำนึงถึงโครงสร้างและวัฒนธรรม องค์กร 6. สร้างกลไกการกำกับ ติดตามประเมินผลควรดำเนินการทั้งใน ระยะสั้นและประจำปี

13 วิชาผู้ภาวะผู้นำทางการพยาบาลและการจัดการ
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2557

14 ตัวอย่างแผนกลยุทธ์ รพ
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2557 2549)   

15 การพัฒนาการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ ( Strategic management)
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2557 ความหมายแนวคิดการบริหารงานที่เน้นการวางแผนที่ สามารถวัดผลผลิตได้และเป็นการวางแผนที่คำนึงถึง บริบทขององค์กรทั้งภายในและภายนอกขององค์กรเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้องค์กรก้าวทันต่อ การเปลี่ยนแปลง (พูลสุข หิงคานนท์, 2549)   

16 ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2557

17 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : ผลิตบัณฑิตพยาบาลที่มีคุณภาพ
ตัวอย่างแผนกลยุทธ์ วิสัยทัศน์:เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ในการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ คุณธรรม ตามมาตรฐานสากลโดยบูรณาการการจัดการเรียนการสอนและการวิจัย เพื่อสร้างนวัตกรรมและพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : ผลิตบัณฑิตพยาบาลที่มีคุณภาพ ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมาย(ปี) งบ ประมาณ ส่วนงานที่รับผิดชอบ ผู้ควบคุม/กำกับ ผู้รับผิด ชอบ กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม 55 56 57 58 59 1.ร้อยละของนักศึกษาสามารถสอบขึ้นทะเบียนประกอบวิชาชีพได้ในการสอบครั้งแรก(เฉลี่ยย้อนหลัง3ปี)(สภาฯ) ร้อยละ 50 60 65 70 ฝ่ายวิชาการ รองคณบดีฝ่ายวิชาการ พัฒนาบัณฑิตที่มุ่งส่งเสริมคุณภาพและคุณธรรม 2.ร้อยละผู้สำเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ในหลักสูตร (เฉลี่ยย้อนหลัง3ปีการศึกษา) 90 92 94 96 98 3.ร้อยละของการมีงานทำและศึกษาต่อของบัณฑิตที่สำเร็จใหม่(ย้อนหลัง3ปีการศึกษา)(สภาฯ) 100 4.ร้อยละของบัณฑิตที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมคุณภาพและคุณธรรม รองฝ่ายวิชาการ ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2557   

18 องค์ประกอบ Competency ในปัจจุบันแบบ K-S-A
สะสมผ่านการเรียนรู้ ศึกษา ค้นคว้า K: Knowledge ความรู้ สะสมผ่านการฝึกฝน การปฏิบัติซ้ำแล้วซ้ำอีก สะสมผ่านการหล่อหลอมกล่อมเกลา จนเคยชินเป็นนิสัย S: Skill ทักษะ A: Attribute คุณสมบัติอื่นๆ

19 ประเภทของ competency Functional/Technical Competency 3 ส่วนนี้
รวมเรียกว่า Non-Core Competency Core Competency Individual/Job Competency Leadership/Managerial Competency องค์กรเดียวกันใช้ Competency เหมือนกัน แต่ละหน่วยงานจะมี Competency ตามลักษณะงานแต่ละตำแหน่ง

20 กรอบแนวคิด (Frameworks) การพัฒนา Competency
วิสัยทัศน์/พันธกิจ/ค่านิยม Core Competency กลยุทธ์การดำเนินภารกิจ Competency Model กลุ่มหน้าที่/ตำแหน่งงาน Non-core Competency 20

21 ประเภทของ Competency (ต่อ)
สมรรถนะหลัก (Core Competency) – สะท้อนค่านิยมหลักที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานของทุกคนในองค์กร เป็นสิ่งที่องค์กรคาดหวังให้ทุกตำแหน่งมีร่วมกัน สมรรถนะตามกลุ่มหน้าที่ (Function Competency) - กลุ่ม competency ที่เกี่ยวข้องกับคุณลักษณะของกลุ่มงาน หรือฝ่ายงาน (job family) ที่ทุกคนในกลุ่มงานนั้นต้องมีร่วมกัน สมรรถนะประจำตำแหน่งงาน (Job/Individual Competency) - competency ที่เกี่ยวข้องกับคุณลักษณะของตำแหน่งหนึ่งๆ ซึ่งจะแตกต่างกันไปตามบทบาท หน้าที่ ภารกิจ และความรับผิดชอบ สมรรถนะทางการจัดการ (Managerial Competency) – กลุ่ม competency ที่เกี่ยวข้องกับคุณลักษณะด้านการบริหารจัดการและความเป็นผู้นำ โดยองค์กรคาดหวังให้ผู้อยู่ในฐานะผู้บังคับบัญชาต้องมี

22 ระบบสมรรถนะและการนำไปใช้
Competency Catalogue: ชุดรายการสมรรถนะ การถ่ายทอด และนำไปประยุกต์ปฏิบัติ Competency Model: ตัวแบบสมรรถนะ Competency Dictionary: พจนานุกรมสมรรถนะ Competency Mapping: จัดระบบสมรรถนะ

23 พจนานุกรมสมรรถนะ: Competency Dictionary
คำจำกัดความ (Definition) คือ ความหมายของ Competency แต่ละตัวที่องค์กรกำหนดขึ้นเพื่อความเข้าใจที่ตรงกันของสมาชิกในองค์กร ระดับความสามารถ (Proficiency Level) คือ ระดับความยากง่ายของ Competency แต่ละตัว โดยทั่วไปจะกำหนดไว้ประมาณ 5 ระดับ ตัวชี้วัดด้านพฤติกรรม (Behavioral Indicator) คือ ตัวชี้วัดเกี่ยวกับพฤติกรรมการทำงานซึ่งเป็นเกณฑ์ที่องค์กรใช้ในการวัด Competency นั้นๆ ของพนักงานแต่ละคน 23

24 รูปแบบของ Competency Dictionary
ระดับ ลักษณะพฤติกรรม และตัวชี้วัดพฤติกรรม 1 พนักงาน ขั้นเรียนรู้ ความเข้าใจ 2 หัวหน้างาน ขั้นปฏิบัติ แสดงออก 3 ผู้จัดการ ขั้นชำนาญการ ช่วยเหลือผู้อื่น 4 ผู้อำนวยการ ขั้นกระตุ้นจูงใจ กระตุ้นผลักดัน 5 CEO ขั้นกลยุทธ์ สร้างความสามารถ

25 ตัวอย่างแผนภูมิแสดงประเมินสมรรถนะ
สมรรถนะ C สมรรถนะ B สมรรถนะ A สมรรถนะ D สมรรถนะ E ระดับสมรรถนะ ระดับที่คาดหวัง ระดับที่เป็นจริง

26 การพัฒนาในลักษณะขั้นบันได
ระดับ 5 ผู้เชี่ยวชาญ – สามารถต่อยอด ขยายความคิด หาความรู้ใหม่มาปรับปรุงการทำงาน และกระตุ้นความสามารถในการแข่งขันขององค์การ ระดับ 4 ผู้มีประสบการณ์ – สามารถนำสมรรถนะมาปรับปรุงการทำงาน และถ่ายทอดให้ผู้อื่น เพื่อไปประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ได้ ระดับ 3 ผู้รู้ – สามารถประยุกต์เครื่องมือต่างๆ เพื่อช่วยในการทำงานให้ดีขึ้น ระดับ 2 ผู้เริ่มต้น – มีประสบการณ์บ้างแล้ว สามารถทำงานได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องขอคำปรึกษาจากผู้อื่น ระดับ 1 ผู้ฝึกหัด – มีความเข้าใจในงาน สามารถปฏิบัติงานได้ โดยมีผู้รู้ให้คำแนะนำปรึกษา

27 แนวทางการพัฒนาตนเองตามสมรรถนะ
Gap ของสมรรถนะ Gap = 0 คือ มีสมรรถนะตามที่กำหนด Gap > 0 คือ มีสมรรถนะสูงกว่าที่กำหนด เป็น จุดแข็ง (+) Gap < 0 คือ มีสมรรถนะต่ำกว่าที่กำหนด เป็น จุดอ่อน (-) แนวทางการพัฒนา เสริม/ขยายจุดแข็ง ลด/ปิดจุดอ่อน

28 ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2557

29 Balanced Scorecard Scorecard หมายถึง รายงานสรุปผลสัมฤทธิ์ขององค์กร
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2557 Balanced หมายถึง ความสมดุลของจำนวนมุมมองที่ใช้ในการพิจารณาองค์กร เวลากำหนด ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ (CSF) และตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลัก (KPI) Scorecard หมายถึง รายงานสรุปผลสัมฤทธิ์ขององค์กร ด้านผู้มีส่วนเกี่ยวข้องภายนอกองค์กร (External Perspective) ด้านองค์ประกอบภายในองค์กร (Internal Perspective) ด้านนวัตกรรม (Innovation Perspective) ด้านการเงิน (Financial Perspective)

30 ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2557

31 รูปแบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน

32 การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management)
ผลสัมฤทธิ์ (Results) = ผลผลิต (Outputs) + ผลลัพธ์ (Outcomes) Plan มีวัตถุประสงค์ หรือ เป้าหมายที่ชัดเจน (ต้องการทราบว่าผลสัมฤทธิ์คืออะไร) Do มีการปฏิบัติงานที่มุ่งให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามแผนที่วางไว้หรือไม่ Check มีการตรวจสอบว่าปฏิบัติได้ผลสัมฤทธิ์ตามที่วางแผนไว้หรือไม่ Act ปรับปรุงแก้ไขให้ได้ผลสัมฤทธิ์ตามแผนที่วางไว้

33 การประเมินแบบรอบทิศ (360 องศา)
ผู้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน ผู้ถูกประเมิน ลูกค้า ผู้ใต้บังคับบัญชา

34 การบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management)
กระบวนการบริหารแบบบูรณาการที่เชื่อมโยงการวางแผนยุทธศาสตร์และเป้าหมายขององค์กร การพัฒนาผลการปฏิบัติงาน การติดตามผลการปฏิบัติงาน และการประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยมุ่งเน้นความสอดคล้องของผลการปฏิบัติงานของบุคคลให้เป็นไปในทิศทางเดียวกับเป้าหมายรวมขององค์กร

35 หลักของธรรมาภิบาล 1.      หลักคุณธรรม 2.      หลักนิติธรรม 3.      หลักความโปร่งใส 4.      หลักความมีส่วนร่วม 5.      หลักความรับผิดชอบ 6.      หลักความคุ้มค่า

36 หลักของธรรมาภิบาล

37 4.2 Excellence Model ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ 2556

38 Thank you for your attention
“Any Question? " 38 38


ดาวน์โหลด ppt วิชาผู้ภาวะผู้นำทางการพยาบาลและการจัดการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google