ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การพัฒนา. การสาธารณสุขไทย
การพัฒนา..การสาธารณสุขไทย.. บริการสุขภาพปฐมภูมิ กับ การพัฒนาแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว Primary Care in Thailand : Now and Future น.พ.สุเทพ วัชรปิยานันทน์ สาธารณสุขนิเทศก์
2
ยุคสมัย.. แห่งการสาธารณสุขไทย
3
“รักษาฟรี ผู้มีรายได้น้อย”
โรคเท้าช้างเป็นโรคที่เกิดจากหนอนพยาธิตัวกลมฟิลาเรีย มีลักษณะคล้ายเส้นด้ายอาศัยอยู่ในระบบน้ำเหลืองของคน โดยมียุงเป็นพาหะนำโรค มีอาการที่เห็นได้ชัด คือ ขา แขน หรืออวัยวะเพศบวมโตผิดปกติ เนื่อง ยุคที่ 1 ยุคโรคติดต่อระบาด ปี 2511 สำนักงานผดุงครรภ์ ปี 2517 สุขศาลา ปี 2518 ประกาศ นโยบาย “รักษาฟรี ผู้มีรายได้น้อย”
4
ทศวรรษ...พัฒนาสถานีอนามัย
ปี 2527 สถานีอนามัย ทศวรรษ...พัฒนาสถานีอนามัย ปี 2535
5
หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ปี หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 30 บาทรักษาทุกโรค
6
ปี 2553 รพ.สต.
7
2521 ยุคสาธารณสุขมูลฐาน ยุคที่ 2 สสม. รณรงค์สร้างส้วม
ภาวะโภชนาการในเด็ก
8
N = Nutrition E = Education W = Water Supply S = Sanitation
Primary Health Care 8 Elements N = Nutrition E = Education W = Water Supply S = Sanitation
9
T = Treatment of Common Diseases E = Essential Drugs
2521 สสม. Primary Health care 8 Elements I = Immunization T = Treatment of Common Diseases E = Essential Drugs M = Maternal and Child Health
10
ปีแห่งการณรงค์คุณภาพชีวิต
เกิด ปีแห่งการณรงค์คุณภาพชีวิต จปฐ. กม. กสต. คปต.
11
ประชุม ณ ประเทศ แคนาดา เกิด “Ottawa Charter”
2539 ประชุม ณ ประเทศ แคนาดา เกิด “Ottawa Charter” 2543 Health For All สุขภาพดีถ้วนหน้า
12
ยุค “สร้างเสริมสุขภาพ”
ยุคที่ 3 ยุค “สร้างเสริมสุขภาพ” NCD
13
“ส่งเสริมสุขภาพโลก ครั้งที่ 6”
2548 เจ้าภาพจัดประชุม “ส่งเสริมสุขภาพโลก ครั้งที่ 6” สิงหาคม 2548 The Bangkok Charter for Health Promotion in a Globalized World
14
วิวัฒนาการสุขภาพ Phase 1 Mortality Program ใช้การแพทย์แก้ปัญหา
Phase 2 Morbidity Program ใช้การสาธารณสุขแก้ปัญหา Phase 3 Beyond Morbidity Program ใช้พฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์แก้ปัญหา
15
ความเชื่อมโยงและพลวัตเกี่ยวกับสุขภาพ
กายภาพ/ชีวภาพ นโยบายสาธารณะ กรรมพันธุ์ เศรษฐกิจ/การเมือง พฤติกรรม วัฒนธรรม/ศาสนา ประชากร/การศึกษา ความเชื่อ ปัจเจกบุคคล สภาพแวดล้อม ความมั่นคง จิตวิญญาณ การสื่อสาร/คมนาคม วิถีชีวิต สุขภาพ เทคโนโลยี/องค์ความรู้ การแพทย์&สาธารณสุข กระแสหลัก ระบบบริการ สาธารณสุข บริการส่งเสริม&ป้องกัน&รักษา&ฟื้นฟู การแพทย์แผนไทย&พื้นบ้าน การแพทย์ทางเลือกอื่น ๆ พลวัต
16
ระบบสุขภาพ ระบบสาธารณสุข ระบบ บริการทาง การแพทย์
17
“อยู่เย็น-เป็นสุข” สุขภาพ VS. ทุกขภาพ สุขภาพ & สุขภาวะ
ทุกขภาพ & ทุกขภาวะ คน ครอบครัว ชุมชน สังคม สุขภาพดี & มีคุณภาพชีวิต ป่วย & ตาย ด้วยเหตุไม่สมควร เครียด บีบคั้น เห็นแก่ตัว อ่อนแอ แตกแยก ล่มสลาย ตัวใครตัวมัน สิ่งแวดล้อม&สภาพแวดล้อมแย่ “อยู่ร้อน - นอนทุกข์” “อยู่เย็น-เป็นสุข”
18
สุขภาพ : สุขภาวะ สังคม จิต กาย บุคคล ครอบครัว ชุมชน สังคม สร้างเสริม
ป้องกัน จิตวิญญาณ (ปัญญา) รักษา สังคม ฟื้นฟู จิต กาย สุขภาพ : สุขภาวะ
19
การนำนโยบายมาปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาสาธารณสุข
สุขภาพดี/สุขภาวะดี ระบบบริการสาธารณสุขที่ดี(ครอบคลุม และมีคุณภาพ) ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพดี (ปชช.มีศักยภาพ/ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ) Primary Health Care (PHC) Basic Health Service (BHS) Service Oriented Service Plan เขต เน้น - 1° care - รพ.สต. - 1° care เขตเมือง:ศสม. ใช้ “ Family Medicine” พัฒนาคุณภาพบริการ/ ส่งต่อ -Development Oriented -แผนชุมชน/องค์กร ใช้ SRM/ค่ากลาง -กองทุนสุขภาพตำบล -โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพ (รน.สช.) -พัฒนา อสม. ต้นแบบ -ถอดบทเรียนการทำงานชุมชน
20
การพัฒนาแพทย์ด้านเวชศาสตร์ครอบครัว
21
การฝึกอบรมเพื่อพัฒนาแพทย์ด้านเวชศาสตร์ครอบครัว
โครงการ คุณสมบัติ สถาบันฝึกอบรม ระยะเวลา/เงื่อนไข ปีที่ดำเนินการ หมายเหตุ Formal training program (แพทย์ประจำบ้าน) ปฏิบัติราชการชดใช้ทุนแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี สถาบันฝึกอบรมที่ผ่านการรับรอง 3 ปี/ วุฒิบัตร 2543 ลาศึกษา/ฝึกอบรม/อิสระ In-service Family Medicine Training(IFMT) และยังอยู่ระหว่างการปฏิบัติราชการชดใช้ทุน ปีที่ 2 หรือ 3 (หลัก/สมทบ) -ฝึกอบรมขณะปฏิบัติงาน -ไม่ต้องลาฝึกอบรม -ได้รับทุนสนับสนุนรายเดือนจาก สปสช -ทำสัญญารับทุน -ปฏิบัติงานชดใช้ทุน 3 ปี Family Practice Learning (FPL) แพทย์ที่สนใจ รพ.ที่มีความพร้อม 1 ปี/หนังสืออนุมัติ(เมื่อมีคุณสมบัติครบ) 2555- -ฝึกอบรมเพิ่มประสบการณ์เวชปฏิบัติครอบครัวขณะปฏิบัติงาน โครงการพัฒนาแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวภายใต้โครงการปฏิบัติงานเพื่อการสอบวุฒิบัตรฯNFMT=New Graduate Family Medicine Training แพทย์จบใหม่ -พัฒนาต่อยอดจาก FPL
22
แนวทางการพัฒนาในอนาคต
๑.ริเริ่ม “โครงการทศวรรษพัฒนาแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว ทั่วแผ่นดิน” ระยะเวลา 10 ปี (พ.ศ ) ๒.ผลักดันนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว ระดับชาติควบคู่กับการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิทั้งระบบ ๓.กำหนดเป้าหมายและพันธกิจในการส่งเสริมระบบการดูแลสุขภาพโดยแพทย์ ประจำครอบครัวเป็นแผนระยะยาวให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ รวมทั้ง การของบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาลให้เพียงพอต่อแผนงานพัฒนาแพทย์ เวชศาสตร์ ครอบครัว ๔.จัดตั้ง “คณะกรรมการระบบเวชศาสตร์ครอบครัวแห่งชาติ”
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.