ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สิทธิประโยชน์ด้านยา งบปี 2558
งานยา เวชภัณฑ์และวัคซีน สำนักงานหลักประกันสุขภาพ. เขต1 เชียงใหม่
2
VISION สปสช. : ทุกคนที่อาศัยอยู่บนแผ่นดินไทยได้รับการคุ้มครองหลักประกันสุขภาพอย่างถ้วนหน้าด้วยความมั่นใจ สำนักยาฯ : บริหารระบบยาในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้ประชาชน เข้าถึงยาที่จำเป็นอย่างทั่วถึง ด้วยความมั่นใจในคุณภาพและความเหมาะสม ในการสั่งใช้ยา
3
หน้าที่รับผิดชอบตามประกาศสปสช. 30 พย. 2555
4
พันธกิจสำนักยาฯ พัฒนาสิทธิประโยชน์ และส่งเสริมการเข้าถึงยาฯ และ การบริบาลเภสัชกรรม ของผู้รับบริการในระบบ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า บริหารยาฯ จำเป็นที่มีปัญหาการเข้าถึงอย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล สนับสนุนการจัดบริการด้านเภสัชกรรมที่มีคุณภาพใน หน่วยบริการทุกระดับรวมถึงขยายเครือข่ายบริการเภสัช กรรมปฐมภูมิ พัฒนาระบบบริหารจัดการ ระบบสารสนเทศด้านยาฯ การพัฒนาบุคลากรภายใน รวมถึงการส่งเสริมการ พัฒนานวัตกรรมด้านยาฯ
5
เป้าประสงค์ และการบริบาลทางเภสัชกรรม
ส่งเสริมการเข้าถึงยา เวชภัณฑ์ และวัคซีน และการบริบาลทางเภสัชกรรม ส่งเสริมการเข้าถึงยา เวชภัณฑ์ และวัคซีน (สิทธิประโยชน์ ราคา คุณภาพ จัดหา กระจาย ติดตาม ตรวจสอบ ) สนับสนุนคุณภาพการบริบาล ทางเภสัชกรรม (เครือข่าย ระบบบริการ ความปลอดภัย P4P สารสนเทศ) เป้าหมาย ผู้ป่วยเข้าถึงยา วัคซีน และเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา (มียาที่มีคุณภาพดี เพียงพอ และ เท่าเทียมสิทธิอื่น) เป้าหมาย ผู้ป่วยได้รับบริการเภสัชกรรมที่ได้มาตรฐาน ปลอดภัยจากการใช้ยาฯ ใช้ยาฯถูกต้อง ยาฯให้ประสิทธิผลตามแผนการรักษา มีแหล่งให้คำแนะนำใกล้บ้าน
6
งานยา เวชภัณฑ์และวัคซีน ปีงบประมาณ 2557 และ 2558
งานยา เวชภัณฑ์และวัคซีน ปีงบประมาณ และ 2558 ยาบัญชี จ2 Clopidogrel Antidote และ ยากำพร้า วัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตามแผนการสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข เภสัชกรรมปฐมภูมิ วัคซีนไข้หวัดใหญ่ การใช้ยาสมเหตุผล : ASU ร้านยาในระบบหลักประกัน(UC)
7
ความแตกต่างของแนวทางการบริหารจัดการ ปี 57 และ ปี 58
ความแตกต่างของแนวทางการบริหารจัดการ ปี 57 และ ปี 58 สิทธิประโยชน์ด้านยา บัญชี จ2 มีการใช้โปรแกรมการเบิกชดเชยยา ร่วมกันระหว่างการ สปสช. และ สปส. ปี งบประมาณ 2557 ปี งบประมาณ 2558 - สำนักงานประกันสังคม ขอเข้าร่วมใช้โปรแกรมการเบิกชดเชยยาบัญชี จ2 - ยกเลิกการใช้โปรแกรมการเบิกชดเชยยาในผู้ป่วยคนไทยที่รอตรวจสอบสถานะและสิทธิ (STP)
8
ระงับการเบิกชดเชยยา จ2 ในผู้ป่วย ที่รอพิสูจน์สถานะและสิทธิ ตั้งแต่ 1 ต
ระงับการเบิกชดเชยยา จ2 ในผู้ป่วย ที่รอพิสูจน์สถานะและสิทธิ ตั้งแต่ 1 ต.ค. 57 ผู้ป่วยสิทธิ UC และ ผู้ป่วยประกันสังคม ยังคงเบิกโดยใช้ระบบการเบิกยาของ สปสช.
11
ความแตกต่างของแนวทางการบริหารจัดการ ปี57 และ ปี 58
ความแตกต่างของแนวทางการบริหารจัดการ ปี57 และ ปี 58 สิทธิประโยชน์ด้านยา บัญชี จ2 ปี งบประมาณ 2557 ปี งบประมาณ 2558 รายการยาเดิม รายการ -มีค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการสำหรับผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าติดเชื้อไวรัสอักเสบซี genotype 2 และ 3 -เบิกผ่านโปรแกรมการเบิกชดเชยยา จ2 1. ยา peginterferon และ ribavirin เพิ่มสิทธิประโยชน์สำหรับผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรังสายพันธุ์ ๑ หรือ ๖ หรือ กลุ่มผู้ป่วย HIV ที่มีการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีร่วมด้วย 2. ยา Trastuzumab ในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมระยะเริ่มต้น ที่มี HER2 Receptor เป็นบวก 3. ยา Nilotinib ใช้สำหรับผู้ป่วย CML ระยะ chronic หรือ accerelated phase ที่ไม่สามารถใช้ยา imatinib 4. ยา Dasatinib ใช้สำหรับผู้ป่วย CML ระยะ chronic หรือ accerelated phase ที่ไม่สามารถใช้ยา Nilotinib ได้
12
รายการยาที่เพิ่มเป็นสิทธิประโยชน์ใหม่ ปี 58
รายการยาที่เพิ่มเป็นสิทธิประโยชน์ใหม่ ปี 58 การเข้าถึงยา peginterferon ในกรณี - ผู้ป่วยที่ติดเชื้อตับอักเสบซี สายพันธ์ 1 , 6 - ผู้ป่วยที่ติดเชื้อตับอักเสบซี ที่มี การติดเชื้อ HIV ร่วมด้วย การเข้าถึงยา trastruzumab ในผู้ป่วย มะเร็งเต้านมระยะเริ่มต้นที่มี Her 2 positive การเข้าถึงยา nilotinib ในผู้ป่วยกลุ่ม CML ที่ดื้อต่อการใช้ยา imatinib การเข้าถึงยา dasatinib ในผู้ป่วย กลุ่ม CML ที่ดื้อต่อการใช้ยา nilotinib
13
หน่วยบริการ ได้รับยา แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ สั่งใช้ยา จ.2 กรอกแบบฟอร์ม
ขออนุมัติใช้ยา จ.2 Authorized โดย ผอ. หรือผู้ที่ผอ.มอบหมาย จ่ายยาให้ผู้ป่วย key เบิกชดเชยยา ของผู้ป่วย สปสช สปส หน่วยบริการ ได้รับยา องค์การเภสัชกรรม - รับข้อมูล - จัดส่งยาให้หน่วยบริการ ภายใน 5-7 วัน (VMI) ระบบ ตัดข้อมูลทุกเที่ยงคืน เพื่อ - ตรวจสอบสิทธิ ผู้ป่วย - รายงานข้อมูลปริมาณยาแยกตามสิทธิ ราย รพ.
14
จำนวนผู้ป่วยใหม่ที่ได้รับยา จ2 แต่ละปี
ผู้ป่วยใหม่สะสมรวมทั้งสิ้น28,783 ราย
18
รายการยาจ(2)ที่มีการเบิกจ่ายรายหน่วยบริการปีงบ 57
รพ.มหาราช รพ.นครพิงค์ รพ.ประสาท รพ.ลำปาง ศูนย์มะเร็งลำปาง รพ.ลำพูน รพ.เชียงราย รพ.แพร่ รพ.น่าน รพ.พะเยา รพ.ศรีสังวาลย์ ATG 25MG/5ML × Bevacizumab INJ BOTOX type A 100 IU BOTOX type A 500 IU Docetaxel inj 80mg/2ml Docetaxel inj 20mg/0.5ml Imiglucerase 400iu Linezolid 600 mg/tab
19
รายการยาจ(2)ที่มีการเบิกจ่ายรายหน่วยบริการปีงบ 57
รพ.มหาราช รพ.นครพิงค์ รพ.ประสาท รพ.ลำปาง ศูนย์มะเร็งลำปาง รพ.ลำพูน รพ.เชียงราย รพ.แพร่ รพ.น่าน รพ.พะเยา รพ.ศรีสังวาลย์ Ribavirin200 mg/tab(Robetal) × Leuproreline inj 3.75mg Voriconazole inj 200mg/vial Voriconazole tab 200mg/tab IVIG 5% w/v100 ml IVIG5% w/v 50 ml Letrozole 2.5mg
20
รายการยาจ(2)ที่มีการเบิกจ่ายรายหน่วยบริการปีงบ 57
รพ.มหาราช รพ.นครพิงค์ รพ.ประสาท รพ.ลำปาง ศูนย์มะเร็งลำปาง รพ.ลำพูน รพ.เชียงราย รพ.แพร่ รพ.น่าน รพ.พะเยา รพ.ศรีสังวาลย์ Lipo Ampho B 50 mg × Peg alpha 2a inj 180mg/0.5ml(pegasys) Peg alpha 2b inj 100mcg/0.5ml(Redipen) Peg alpha 2b inj 100mg/0.5ml(Pegintron) Ribavirin200 mg/tab(Copegus) Ribavirin200 mg/cap(Robetal)
21
การติดตามการสั่งใช้ยา IVIG ข้อบ่งใช้ Kawasaki Disease
22
ผลการตรวจสอบด้านการจ่ายชดเชยยา IVIG กรณี acute phase of Kawasaki disease
ปีงบ Audit (ฉบับ) ไม่พบ ข้อผิดพลาด ร้อยละ พบ ข้อผิดพลาด ปีงบ56 (ต.ค 53-ก.ย 55) 62 48 77.42 14 22.58 ปีงบ 57 (ต.ค 55-ก.ย 56) 49 29 59.18 20 40.82 ไม่พบข้อผิดพลาด = ไม่พบข้อผิดพลาดที่มีผลกระทบต่อการเบิกจ่ายชดเชย พบข้อผิดพลาด = พบข้อผิดพลาดที่มีผลกระทบต่อการเบิกจ่ายชดเชย
23
ระบบการบริหารจัดการยา Clopidogrel ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
24
สิทธิประโยชน์ รายการยา
Clopidogrel bisulfate 75 mg tablet ซึ่งจัดซื้อจัดหาโดยมาตรการบังคับใช้สิทธิเหนือสิทธิบัตรยาโดยรัฐ เงื่อนไขการรับบริการ ผู้ป่วยสิทธิระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า หน่วยบริการต้องจ่ายยา Clopidogrel 75 mg tablet ตามข้อบ่งใช้ในการจ่ายยา ที่กำหนดไว้ในบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2551 คุณสมบัติของหน่วยบริการที่เข้าร่วมโครงการ เป็นหน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า หรือเป็นหน่วยบริการที่เข้าร่วมโครงการผ่าตัดหัวใจ กับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
25
สิทธิประโยชน์ ข้อบ่งใช้ในการจ่ายยา ที่กำหนดไว้ในบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ ได้แก่ ใช้กับผู้ป่วยที่มีข้อห้ามใช้หรือแพ้ aspirin ให้ระยะสั้นในการสอดฝังขดลวดค้ำยันผนังหลอดเลือด (stent) ใช้ในกรณีที่ใช้ aspirin แล้วยังมี recurrent thrombotic events ใช้ในกรณีพิเศษ เช่น atrail fibrillation หรือ antiphospholipid syndrome ซึ่งยังอาจไม่จำเป็นต้องใช้ หรือไม่สามารถใช้ anticoagulant ได้ ใช้กับผู้ป่วยที่มี multiple thrombotic risk factors ซึ่งไม่สามารถควบคุมได้ในระยะสั้น การใช้ clopidrogrel และ ticlopidine ร่วมกับ aspirin นอกเหนือจากกรณีที่ 2 ไม่ช่วยเพิ่มประสิทธิผลแต่เพิ่มผลข้างเคียงของภาวะเลือดออก
26
4. ระบบการเบิกจ่ายยา บันทึกการใช้ยา clopidogrel
หน่วยบริการขอรับชดเชยยา โดยกรอกข้อมูลลงในโปรแกรมการเบิกชดเชยยาของ สปสช. การกรอกข้อมูลใข้ข้อมูล 6 ส่วน PID, HN, AN ชื่อ-นามสกุล ผู้ปวย (กรณีกรอก Online จะขึ้นเองอัตโนมัติหลังกรอก PID) สิทธิ์การรักษา (ระบบตรวจสอบอัตโนมัติ เมื่อทำการส่งข้อมูล) แพทย์ผู้ทำการรักษา (ใช้รายชื่อแพทย์จาก list กรอกครั้งแรกครั้งเดียว) จำนวนเม็ดยาที่ใช้ไป Indication
28
Antidote และ ยากำพร้า
29
โครงการยากำพร้าและยาต้านพิษ
หน่วยบริการเป้าหมาย หมายถึง หน่วยบริการขึ้นทะเบียน ที่มีการทวนสอบข้อมูลจากเขตว่ามีความพร้อมในการเข้าร่วมโครงการยากำพร้า และยาต้านพิษ เป้าหมายรวมทั้งประเทศ ประมาณ 800 แห่ง ขึ้นระบบ หมายถึง หน่วยบริการมีการขอขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยให้บริการยากำพร้าฯ และมีการบันทึกข้อมูลหน่วยบริการเป็นหน่วยสำรองยา โดยต้องระบุชื่อผู้ใช้งานระบบ, รายการยาพร้อมจำนวนที่จะขอสำรอง และพิกัดทางภูมิศาสตร์(Lat, Long) ของหน่วยบริการ ในโปรแกรมระบบยากำพร้าฯ
30
รายการยาในชุดสิทธิประโยชน์ ปีงบประมาณ 2555
ที่ รายการยา ขนาด ความแรง ข้อบ่งใช้ 1. Dimercaprol (BAL) amp 50 mg/ml ใช้รักษาพิษจากโลหะหนัก ได้แก่ arsenic, gold, mercury, lead, copper 2. Sodium nitrite amp 3% w/v Cyanide poisoning 3. Sodium thiosulfate amp 25% w/v 4. Methylene blue vial 1% w/v Methemoglobinaemia 5. Glucagon kit 1mg/ml Beta-blocker poisoning and Calcium channel blocker 6. Succimer cap 100 mg/cap Lead poisoning in children 7. Botulinum antitoxin bottle Cl botulinum antitoxin Type A 750 I.U Type B 500 I.U. Type E 50 I.U. Per mL รักษาพิษจาก Botulinum toxin 8. Diphtheria antitoxin amp 1000 IU/ml รักษาโรคคอตีบ จาก Diphtheria toxin 9. Digoxin Specific antibody fragment amp 38 mg/vial Digoxin toxicity ,Cardiac glycoside เช่น พิษจากยี่โถ รำเพย คางคก 10. Calcium Disoduim edetate amp 200 mg/ml, 5 ml in oil ใช้รักษาพิษจากโลหะหนัก ได้แก่ lead , zinc, cadmium * Investigation กรณีที่ยาเหลืออยู่ในระบบ
31
ชนิด Serum ในโครงการฯ ของ สปสช.
Anti-venom : ชนิด Serum ในโครงการฯ ของ สปสช. กลุ่มยา ชื่อยา/ข้อบ่งใช้ กลุ่มยาต้านพิษ 1. Polyvalent anti-venom for haematotoxin 2. Polyvalent anti-venom for neurotoxin 3. Monovalent anti-venom 3.1 Serum แก้พิษ งูเขียวหางไหม้ 3.2 Serum แก้พิษ งูกะปะ 3.3 Serum แก้พิษ งูแมวเซา 3.4 Serum แก้พิษ งูจงอาง 3.5 Serum แก้พิษ งูเห่า 3.6 Serum แก้พิษ งูทับสมิงคลา 3.7 Serum แก้พิษ งูสามเหลี่ยม ในโครงการมีให้เบิก Serum ทั้งหมด 7 รายการ โดยไม่มี Serum ต้านพิษงูจงอาง และงูสามเหลี่ยม เนื่องจาก มีประวัติการเกิดเคสน้อยมาก มีการสำรอง Polyvalent antivenum ชนิด Neurotixin ซึ่งรวมพิษงูทั้ง 2 ชนิดดังกล่าวไว้ระดับ รพ. จังหวัด การรักษาผู้ป่วยได้รับพิษต่อระบบประสาmแนะนำให้ refer ผู้ป่วยเข้า รพ. จังหวัด หรือ รพ.ศูนย์ เนื่องจากจำเป็นต้อง monitor ระบบการหายใจอย่างใกล้ชิด 20/09/61
32
กรอบแนวคิดในการบริหารจัดการ
ครอบคลุมทุกสิทธิการรักษา (จัดการโดยใช้ระบบการตัดจ่ายทางบัญชี) Web-based Administration ค้นหายา – เชื่อมต่อ GIS กับ Stock Online เบิกจ่ายยา – real time เชื่อมโยงกับระบบ VMI องค์การเภสัชกรรม 3. เบิกยาโดยไม่มีข้อจำกัดเขตพื้นที่
33
ขั้นตอนที่ 3 : เข้าสู่หน้าจอค้นหายา Antidote
20/09/61
34
ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2556-2557 (Q1)
35
จำนวนผู้ป่วยเบิกยาในโครงการแยกรายปีงบประมาณ
Antidote Serum Total 2554 49 2555 106 2556 402 964 1,366 2557 (Q3/57) 466 4,966 5,432
36
จำนวนผู้ป่วยใช้ยาในโครงการ ยากำพร้าและยาต้านพิษแยกราย สปสช. เขต
จำนวนเบิกใช้ยา Antidote Serum รวม 1 เชียงใหม่ 22 376 398 2 พิษณุโลก 7 155 162 3 นครสวรรค์ 16 98 114 4 สระบุรี 11 219 230 5 ราชบุรี 972 983 6 ระยอง 28 577 605 7 ขอนแก่น 10 33 43 8 อุดรธานี 91 168 259 9 นครราชสีมา 44 252 296 10 อุบลราชธานี 12 134 146 11 สุราษฎร์ธานี 26 446 472 12 สงขลา 81 1,498 1,579 13 กทม. 107 38 145 466 4,966 5,432
37
ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2556-2557 (Q1)
จำนวนผู้ป่วยแยกราย Diagnosis แยกราย สปสช. เขต Diagnosis/สปสช.เขต 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 Beta-blocker poisoning Botulism Calcium channel blocker and beta blocker poisoning Cardiac glycoside Copper poisoning Cyanide poisoning 17 Digitalis intoxication Diphtheria 21 114 27 16 42 Hydrogen sulfide poisoning Lead poisoning 22 Methemoglobinemia 15 Post/Intra operative hypertention Uncertain poisoning Zinc phosphide poisoning Total 19 34 46 116 40 48 70
38
ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2556-2557 (Q1)
จำนวนผู้ป่วยแยกราย Diagnosis แยกราย สปสช. เขต Diagnosis/สปสช.เขต 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 งูเขียวหางไหม้ 142 58 14 78 339 77 18 118 23 22 20 งูเห่า 15 29 21 40 68 งูแมวเซา 36 งูกะปะ 30 101 82 33 43 80 392 งูทับสมิงคลา ระบบโลหิต 16 45 48 ระบบประสาท Total 190 109 60 135 510 293 62 178 486 27
39
การจัดเครือข่ายบริการการดูแลผู้ป่วย ใช้ยากำพร้าและยาต้านิษในพื้นที่ (Node และแนวทางการบริหารจัดการ กรณีต้องการใช้ยาเร่งด่วน)
40
การบริหารจัดการวัคซีน ปีงบประมาณ 2558
41
การจ่าย LAJE ในเขตเหนือบน
ปีงบประมาณ 2556 กรมควบคุมโรคได้ออกโครงการนำร่องการใช้ วัคซีนป้องกันโรคไข้สมองอักเสบ JE ชนิดเชื้อเป็น Live Attenuated JE Vaccine (LAJE) ในเขตภาคเหนือตอนบน 8 จังหวัด ปีงบประมาณ 2556 เป็นงบประมาณ กรม คร. เบิกผ่านระบบ VMI การปรับปริมาณการสำรองให้แจ้งผ่าน สสจ. ปีงบประมาณ 2557 เป็นงบ PP ยังคงให้ในเขต 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน การขยายผลรอ มติอนุสร้างเสริมฯ การเบิก/ปรับเปลี่ยนปริมาณเหมือน EPI ตัวอื่น 20/09/61
42
การใช้งานโปรแกรมวัคซีนนักเรียน
1. กลุ่มเป้าหมายในการให้บริการวัคซีนนักเรียน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 (ป.1) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (ป.6) 2. รายการวัคซีนนักเรียนแยกตามกลุ่มเป้าหมาย MMR vaccine (Mumps สายพันธุ์ Urabe : ขนาดบรรจุ 10 โด๊ส/ขวด หรือสายพันธุ์ Jerrilyn : ขนาดบรรจุ 1 โด๊ส/ขวด) dT vaccine (เฉพาะเด็กที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์) OPV (เฉพาะเด็กที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์) BCG (เฉพาะเด็กที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์) 2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (ป.6) dT vaccine 20/09/61
43
การบันทึกความต้องการเบิกวัคซีนนักเรียน สำหรับหน่วยบริการ ในระบบ VMI
44
เภสัชกรรมปฐม ภูมิ
45
แนวทางการพัฒนาระบบยาและเวชภัณฑ์ในระบบบริการปฐมภูมิ
แนวทาการพัฒนา เครื่องมือ เป้าหมาย สนับสนุนการสร้างเครือข่ายงานเภสัชกรรมปฐมภูมิระดับเขต (สร้างเครือข่าย) งบบริหารของส.ยา ส่วนกลาง จัดสรรให้สปสช.เขต มีเครือข่ายงานเภสัชกรรมปฐมภูมิในระดับเขตครบทุกเขต มีผลงานวิชาการด้านงานเภสัชกรรมปฐมภูมิในระดับเขต พัฒนาเภสัชกรตามโครงการพัฒนาการเรียนรู้ของเภสัชกรในระดับครอบครัวและชุมชน (FCPL รุ่น 2) (พัฒนาคน) สนับสนุนสภาเภสัชกรรมใน การพัฒนาบุคคลากร มีเภสัชกรผ่านหลักสูตร FCPL รุ่น 2 จำนวน 100 คน
46
แนวทางการพัฒนาระบบยาและเวชภัณฑ์ในระบบบริการปฐมภูมิ
แนวทาการพัฒนา เครื่องมือ เป้าหมาย การพัฒนาระบบยาของ PCU (พัฒนาระบบงาน) การบริหารเวชภัณฑ์ (การจัดหา/การบริหารคลังยา) การบริการด้านเภสัชกรรม การดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องในระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชน ร่างเกณฑ์การขึ้นทะเบียน/ประเมินหน่วยบริการประจำและปฐมภูมิด้านเภสัชกรรมปฐมภูมิ ซึ่งพัฒนาร่วมกันระหว่าง สปสช./กท.สธ. QOF (shopping list) หน่วยบริการ 300 แห่ง รวม DHS มีการพัฒนาระบบยาของ PCU (กท.สธ.เลือก หน่วยบริการ) สปสช.เขตเลือกตัว QOF ด้านเภสัชกรรมปฐมภูมิมาพัฒนางาน
47
แนวทางการพัฒนาระบบยาและเวชภัณฑ์ในระบบบริการปฐมภูมิ (ต่อ)
แนวทาการพัฒนา เครื่องมือ เป้าหมาย การพัฒนาระบบการดูแลต่อเนื่อง ในระดับบุคคล ครอบครัว และ ชุมชน (พัฒนาระบบงาน) การจัดการปัญหาการใช้ยาเกินความจำเป็นและซ้ำซ้อน (Poly pharmacy) การเพิ่มการเข้าถึงยาป้องกันไตวายเรื้อรังในผู้ป่วย DM/HT ที่มีภาวะ Microalbumin urea ประเด็นที่หน่วยบริการสนใจ งบบริหารสนับสนุนหน่วยบริการ ผ่านสปสช.เขต QOF (shopping list) Cross sectional survey DM/HT ของ Med Res Net Poly pharmacy (กำลังพัฒนา) 50% ของผู้ป่วยสูงอายุโรคเรื้อรังเป้าหมายได้รับการแก้ไขปัญหา Poly pharmacy ผู้ป่วย DM/HT ที่มีภาวะMicroalbumin urea เข้าถึงยาป้องกันไตเสื่อม ไม่ต่ำกว่า 90%
48
ปีงบประมาณ 2557
49
กรอบแนวคิดงานเภสัชกรรมปฐมภูมิ
อ้างอิงจาก ผศ.ดร.ภก.มังกร ประพันธ์วัฒนะ, มาตรฐานเภสัชกรรมโรงพยาบาลปี
50
ผู้เกี่ยวข้องกับงานเภสัชกรรมปฐมภูมิ
ประชาชน กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งดูแลงานด้าน service plan และ DHS สภาเภสัชกรรม สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล: กลุ่ม SOFT สมาคมเภสัชกรรมชุมชน: ร้านยาคุณภาพ หน่วยงานการศึกษา แผนงานพัฒนากลไกเฝ้าระวังระบบยา (กพย.) สปสช. ได้แก่ แผนงานปฐมภูมิ, PP, โรคเรื้อรัง ส.ยา /สปสช.เขต หน่วยบริการ
51
โครงการสั่งใช้ยาต้านจุลชีพอย่าง สมเหตุผล
52
เกณฑ์ชี้วัดคุณภาพระบบยาในโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557
เกณฑ์ชี้วัดคุณภาพระบบยาในโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 โรคติดเชื้อในทางเดินหายใจ ส่วนบน (Upper Respiratory tract Infection; URI) โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน (Acute Gastroenteritis; AGE) *** ส่วนแผลเลือดออกไม่ได้ประเมินเนื่องจากไม่สามารถประเมินจาก ICD-10 อย่างเดียวได้
53
วัตถุประสงค์ เพื่อให้หน่วยบริการดำเนินการควบคุมการสั่ง ใช้ยาปฏิชีวนะในโรค URI และอุจจาระร่วง เฉียบพลันในแผนกผู้ป่วยนอกอย่างมี ประสิทธิผล แนวทางการประเมิน ระดับการประเมิน : รายหน่วยบริการ แหล่งข้อมูล : OP/PP individual Data
54
วิธีการประมวลผล นำเข้าชุดข้อมูล 4 แฟ้ม (ที่ ร.พ.นำส่งสปสช. 21 แฟ้ม)
(ที่ ร.พ.นำส่งสปสช. 21 แฟ้ม) ตรวจสอบรหัสโรคเป้าหมาย พบรายการ รหัสโรค URI,AGE? Y N นับรายการ VISIT โรค (นับตัวหาร) ไม่นับรายการ VISIT ตรวจสอบรหัสยาเป้าหมาย พบการให้ยาปฏิชีวนะ? ไม่นับรายการ VISIT ที่มีการใช้ยา N Y นับรายการ VISIT ที่มีการใช้ยา (นับตัวตั้ง) ประมวลผลร้อยละ แยกรายโรงพยาบาล วิธีการประมวลผล
55
1 3 5 อัตราการใช้ยายาปฏิชีวนะ ใน URI
เกณฑ์การให้คะแนนในกลุ่มโรค URI & Acute Diarrhea (ปรับแก้) อัตราการใช้ยายาปฏิชีวนะ ใน URI 1 3 5 อัตราการใช้ยา Quinolone ใน acute diarrhea
56
ที่มาที่ไปของ ICD-10
57
เกณฑ์การให้คะแนนในกลุ่มโรค URI & Acute Diarrhea
58
คะแนน URI ของจำนวนหน่วยบริการในพื้นที่ สปสช.เขต1 เชียงใหม่
5 คะแนน 3 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน 4 แห่ง 11 แห่ง 25 แห่ง 79 แห่ง
59
คะแนน AGE ของจำนวนหน่วยบริการในพื้นที่ สปสช.เขต1 เชียงใหม่
5 คะแนน 3 คะแนน 1 คะแนน 0 คะแนน 31-40% 31-50% 8 แห่ง 22 แห่ง 35 แห่ง 55 แห่ง 52 แห่ง 32 แห่ง
60
โครงการการสั่งใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผล
ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ณ.มีนาคม 57 4. หน่วยบริการ(ระดับโรงพยาบาล) ที่มีร้อยละการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะใน 2 กลุ่มโรคเป้าหมาย <=ร้อยละ 40 เพิ่ม 4.1 กลุ่มโรค URI (เป้าหมาย 57) 25 แห่ง (baseline56)>>42แห่ง (เป้า 57) เพิ่มขึ้น 17 แห่ง 39 (ขาดอีก 3 แห่ง) 4.2 กลุ่มโรคอุจาระร่วงเฉียบพลัน (เป้าหมาย 57) 48 แห่ง (baseline56)>>>52แห่ง(เป้า 57) เพิ่มขึ้น 4 แห่ง 66
61
กราฟแสดงร้อยละผลรวมการประเมิน AGEและ URI ในพื้นที่ สปสช.เขต1 ชียงใหม่
62
โครงการร้านยาคุณภาพ สู่ระบบ ประกันสุขภาพแห่งชาติ
63
โครงการร้านยาคุณภาพ สู่ระบบประกันสุขภาพแห่งชาติ
64
กิจกรรมการให้บริการ โครงการการบริการงานสร้างเสริมสุขภาพใน ร้านยาคุณภาพ
โครงการการบริการงานสร้างเสริมสุขภาพใน ร้านยาคุณภาพ โครงการ ดูแลปัญหาจากการใช้ยาใน ผู้ป่วยเฉพาะรายในชุมชน โครงการการจัดการด้านยาสำหรับผู้ป่วยกลุ่ม โรค เรื้อรังโดยร้านยาคุณภาพ โครงการสนับสนุนการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมผู้เสพยาสูบโดยเภสัชกรชุมชน
65
หน่วยร่วมบริการ - ร้านยาคุณภาพ
ร้านยาที่ได้รับการรับรองจากสภาเภสัชกรรม มี มาตรฐานการให้บริการตามสภาเภสัชกรรมเป็นผู้ กำหนด โดยมีเภสัชกรอยู่ปฏิบัติงานประจำตลอดเวลาทำ การ มีการบริการทั้งในส่วนของผลิตภัณฑ์ (Product Services) ส่วนของบริการข้อมูล (Information Services) ทำให้ชุมชนมีการใช้ยาอย่างเหมาะสม เพื่อ คุณภาพ และสุขภาพที่ดีของคนในชุมชน
66
บริการของร้านยาคุณภาพ ในระบบหลักประกันสุขภาพ ปี 2557
โครงการ ดูแลปัญหาจากการใช้ยาในผู้ป่วยเฉพาะ รายในชุมชนเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร โครงการการจัดการด้านยาสำหรับผู้ป่วยกลุ่มโรค เรื้อรังโดยร้านยาคุณภาพ โครงการ สนับสนุนการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมผู้เสพยาสูบโดยเภสัชกรชุมชน โครงการ เติมยาที่ร้านยาในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จ. ภูเก็ต
67
แนวทางการพัฒนาระบบยาและเวชภัณฑ์ในระบบบริการปฐมภูมิ (ต่อ)
แนวทาการพัฒนา เครื่องมือ เป้าหมาย โครงการร้านยาคุณภาพเข้าร่วม ระบบ UC (พัฒนาระบบงาน) เพิ่มการเข้าถึงการคัดกรอง และ การบริการงานส่งเสริมสุขภาพในร้านยาคุณภาพ รวมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้เสพยาสูบ พัฒนาเภสัชกรชุมชนในร้านยาคุณภาพที่เข้าร่วมโครงการ ประชาสัมพันธ์สิทธิประโยชน์ต่างๆของสปสช. งบบริหารของส.ยา ส่วนกลางสนับสนุนสมาคม เภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา คุณภาพ) เพื่อดำเนินงานตาม โครงการ มีร้านยาคุณภาพเข้าร่วมโครงการรวมทั้งสิ้น 300 ร้าน สามารถคัดกรองและให้บริการงานส่งเสริมสุขภาพในร้านยาคุณภาพ ได้ 100,000 คน
68
แนวทางการพัฒนาระบบยาและเวชภัณฑ์ในระบบบริการปฐมภูมิ (ต่อ)
แนวทาการพัฒนา เครื่องมือ เป้าหมาย โครงการร้านยาคุณภาพเข้าร่วม ระบบ UC (พัฒนาระบบงาน) เพิ่มการเข้าถึงการคัดกรอง และ การบริการงานส่งเสริมสุขภาพในร้านยาคุณภาพ รวมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้เสพยาสูบ พัฒนาเภสัชกรชุมชนในร้านยาคุณภาพที่เข้าร่วมโครงการ ประชาสัมพันธ์สิทธิประโยชน์ต่างๆของสปสช. งบบริหารของส.ยา ส่วนกลางสนับสนุนสมาคม เภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา คุณภาพ) เพื่อดำเนินงานตาม โครงการ มีร้านยาคุณภาพเข้าร่วมโครงการรวมทั้งสิ้น 300 ร้าน สามารถคัดกรองและให้บริการงานส่งเสริมสุขภาพในร้านยาคุณภาพ ได้ 100,000 คน
69
แนวทางการพัฒนาระบบยาและเวชภัณฑ์ในระบบบริการปฐมภูมิ (ต่อ)
แนวทาการพัฒนา เครื่องมือ เป้าหมาย ติดตามประเมินผลระบบลูกโซ่ ความเย็นของวัคซีนตั้งแต่ต้นน้ำ ถึงปลายน้ำ(พัฒนาระบบงาน) เก็บข้อมูลการจัดการวัคซีนและอุณหภูมิของการจัดเก็บ ขนส่ง และกระจายวัคซีน จาก คลังวัคซีนชั่วคราว ที่สนามบินสุวรรณภูมิ, คลังวัคซีน GPO, คลังวัคซีนที่ CUP/PCU และ วัคซีน ณ จุดที่ให้บริการแก่เด็ก งบบริหารของส.ยา ส่วนกลางสนับสนุน สถาบันวัคซีนแห่งชาติ เพื่อดำเนินโครงการ มีรายงาน การจัดการวัคซีนและอุณหภูมิของวัคซีนตั้งแต่ ต้นน้ำ ถึงปลายน้ำ มีข้อเสนอแนะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพกรบริหารจัดการวัคซีนในประเทศ
70
ขั้นตอนการนำเข้าข้อมูลรายการยาของโรงพยาบาล
(Drug Catalogue)
71
ขั้นตอนการที่เกี่ยวกับ การจัดทำรายการยาของโรงพยาบาล
(Drug Catalogue) จัดทำแฟ้มข้อมูลรายการยาของโรงพยาบาล Drug Catalogue (excel) นำเข้าข้อมูลรายการยาของโรงพยาบาล Drug Catalogue เพื่อใช้อ้างอิงสำหรับการชดเชยฯ
73
กลุ่ม “ระบบยา” --> เมนู “สืบค้นรหัสยามาตรฐาน”
76
เมนู สำหรับ นำเข้าข้อมูล Drug Catalogue
การuplaod file ยังไม่รองรับ excel และแนะนำให้ใช้ chrome ไม่แนะนำ IE
77
นำเข้าข้อมูล Drug Catalogue
78
1. นำเข้าข้อมูล Drug Catalogue
หน้าจอ จะแสดงผลการตรวจสอบ แบ่งเป็นหัวข้อ ดังนี้ “จำนวนข้อมูลที่ไม่ผ่านการตรวจสอบโครงสร้างตามมาตรฐาน Drug Catalogue” “จำนวนข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบโครงสร้างตามมาตรฐาน Drug Catalogue”
79
1. นำเข้าข้อมูล Drug Catalogue
จะแสดง แถบสีที่ column นั้นและแสดงเหตุผลที่ไม่ผ่าน ไว้ท้ายรายการ ด้วย
80
1. นำเข้าข้อมูล Drug Catalogue
กดปุ่ม “Save” เมื่อต้องการจัดเก็บข้อมูล โดยโปรแกรมจะจัดเก็บข้อมูล เฉพาะ ข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบโครงสร้างตามมาตรฐาน Drug Catalogue เท่านั้น
81
ตรวจสอบประวัตินำเข้าข้อมูล
82
2. เมนู สำหรับ ตรวจสอบประวัตินำเข้าข้อมูล Drug Catalogue
หน้าจอ จะแสดงรายการแฟ้มข้อมูล ที่นำเข้าแล้ว สามารถกด link เพื่อดูรายละเอียดของข้อมูลใน แฟ้มข้อมูลนั้น ได้
83
2. เมนู สำหรับ ตรวจสอบประวัตินำเข้าข้อมูล Drug Catalogue
84
รายการยาที่ยังไม่ได้ตรวจสอบ
85
3. เมนู สำหรับ รายการยาที่ยังไม่ได้ตรวจสอบ
หน้าจอ จะแสดงรายการยา ที่ยังไม่ได้ตรวจสอบ
86
รายการยาที่ตรวจสอบแล้ว ผ่าน
87
4. เมนู สำหรับ รายการยาที่ตรวจสอบแล้ว ผ่าน
การดาวน์โหลดจะคืนค่าเป็น 25 column คือเพิ่ม ISED_Approved, NDC24_APPROVED, DATE_APPROVED,ISED_STATUS (01 จากกระทรวง, 99 จากรพ.) หน้าจอ จะแสดงรายการยา ที่ตรวจสอบแล้ว ผ่าน ซึ่งรายการยากลุ่มนี้ สามารถนำไปใช้บันทึกเบิกชดเชยใน โปรแกรม E-claim หรือ แฟ้มข้อมูล bill-disp ได้ต่อไป
88
รายการยาที่ตรวจสอบแล้ว ไม่ผ่าน
89
5. เมนู สำหรับ รายการยาที่ตรวจสอบแล้ว ไม่ผ่าน
90
5. เมนู สำหรับ รายการยาที่ตรวจสอบแล้ว ไม่ผ่าน
91
เพิ่มยารายการยาใหม่ (ONLINE)
92
6. เมนู สำหรับ เพิ่มยา รายการใหม่ (ONLINE)
93
ปรับปรุงรายการยาเดิม (ONLINE)
94
7. เมนู สำหรับ ปรับปรุงรายการยาเดิม (ONLINE)
แสดงผลเฉพาะ รายการยาที่ตรวจสอบแล้วผ่าน เท่านั้น สามารถตรวจสอบประวัติการแก้ไข / เปลี่ยนแปลง รายการยา ได้
95
7. เมนู สำหรับ ปรับปรุงรายการยาเดิม (ONLINE)
96
7. เมนู สำหรับ ปรับปรุงรายการยาเดิม (ONLINE)
97
ค้นหารหัสยา TMT
98
8. หน้าจอ สำหรับ ค้นหารหายา TMT
99
ขอบคุณค่ะ Siriporn.w@nhso. go.th
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.