ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
3.แผนพัฒนาและองค์กรจัดทำแผนพัฒนา
“แผนพัฒนา” หมายความรวมถึงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาและแผนพัฒนา สามปี “แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา” หมายความว่า แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่กำหนดยุทธศาสตร์ และแนวทางการพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งแสดงถึงวิสัยทัศน์ พันธกิจ และจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาในอนาคต โดยสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด อำเภอ ตำบล “แผนพัฒนาสามปี” หมายความว่าแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา อันมีลักษณะเป็นการกำหนดรายละเอียดแผนงาน โครงการพัฒนาที่จัดทำขึ้นสำหรับปีงบประมาณแต่ละปี ซึ่งมีความต่อเนื่องและเป็นแผนก้าวหน้าครอบคลุมระยะเวลาสามปีโดยมีการทบทวนเพื่อปรับปรุงเป็นประจำทุกปี
2
วงรอบการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น
๕๑ ๕๒ ๕๓ ๕๔ ๕๕ ๕๖ ๕๗ แผนยุทธศาสตร์ฯ แผนพัฒนาสามปี ๒๕๕๑ - ๒๕๕๓ ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ ๒๕๕๓ - ๒๕๕๕ ๒๕๕๔ - ๒๕๕๖
3
จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาที่ยังยืน
ความเชื่อมโยงของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาและแผนพัฒนาสามปี วิสัยทัศน์ พันธกิจ จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาที่ยังยืน ยุทธศาสตร์การพัฒนา แนวทางการพัฒนา แนวทางการพัฒนา แนวทางการพัฒนา โครงการ โครงการ โครงการ กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม
4
องค์กรจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1
องค์กรจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น 2. คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น 1. “คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น”หมายความว่า คณะกรรมการพัฒนาองค์การบริหารส่วนจังหวัด คณะกรรมการพัฒนาเทศบาล คณะกรรมการพัฒนาเมืองพัทยา คณะกรรมการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลและคณะกรรมการพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง
5
คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น
1.นายก อปท. เป็นประธาน 2.รองนายก อปท.ทุกคน เป็นกรรมการ 3.สมาชิกสภาท้องถิ่น 3 คน (สภาท้องถิ่นคัดเลือก) เป็นกรรมการ 4.ผุ้ทรงคุณวุฒิ 3คน (นายก อปท. คัดเลือก) เป็นกรรมการ 5.ผู้แทนภาคราชการ/รัฐวิสาหกิจไม่น้อยกว่า 3 คน(นายก อปท.คัดเลือก) เป็นกรรมการ 6.ผุ้แทนประชาคม 3-6 คน(ประชาคมคัดเลือก) เป็นกรรมการ 7.ปลัด อปท. เป็นกรรมการและเลขานุการ 8.หัวหน้าส่วนการบริหารที่มีหน้าที่จัดทำแผน เป็นผู้ช่วยเลขานุการ
6
ข้อ 8 ให้ผู้บริหารแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น ไม่น้อยกว่า 16 คน
(1) ผู้บริหารท้องถิ่น (2) รองนายก อปท. (3) สมาชิกสภาท้องถิ่น (4) ผู้ทรงคุณวุฒิ (5) ผู้แทนภาคราชการและ หรือรัฐวิสาหกิจ (6) ผู้แทนประชาคมท้องถิ่น (7) ปลัด อปท. (8) หัวหน้าส่วนการบริหาร ที่มีหน้าที่จัดทำแผน ประธานฯกรรมการ กรรมการ กรรมการ/เลขาฯ ผู้ช่วย เลขาฯ 1 คน ทุกคน 3 คน ไม่น้อยกว่า 3 คน 3-6 คน โดยตำแหน่ง คัดเลือกกันเอง ผู้บริหารคัดเลือก คราวละ 2 ปี และอาจ ได้รับ การ คัดเลือก อีกได้
7
คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น (ไม่น้อยกว่า 16 คน) ผู้บริหารท้องถิ่น
รองนายก อปท.ทุกคน ผู้แทนภาคราชการ และหรือรัฐวิสาหกิจ ไม่น้อยกว่า 3 คน ผู้ทรงคุณวุฒิ 3 คน สมาชิกสภาท้องถิ่น 3 คน ผู้แทนประชาคมท้องถิ่น 3-6 คน ปลัด อปท. หัวหน้าส่วนการบริหารที่มีหน้าที่จัดทำแผน
8
ข้อ 10 คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น มีอำนาจหน้าที่
1. กำหนดแนวทางการพัฒนา โดยพิจารณาจาก (1.1) อำนาจหน้าที่ของ อปท. (1.2) ภารกิจถ่ายโอน (1.3) ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ กลุ่มจังหวัด และจังหวัด (1.4) กรอบนโยบาย ทิศทาง แนวทางการพัฒนาของ อปท.ใน เขตจังหวัด (1.5) นโยบายของผู้บริหาร อปท. (1.6) แผนชุมชน
9
ข้อ 10 คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น มีอำนาจหน้าที่ (ต่อ)
2. ร่วมจัดทำร่างแผนพัฒนา เสนอแนะแนวทางพัฒนาและแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการจัดทำร่างแผนพัฒนา ในการจัดทำร่างแผนพัฒนา ให้เทศบาล เมืองพัทยา และอบต. นำปัญหาความต้องการจากแผนชุมชนที่เกินศักยภาพของชุมชนที่จะดำเนินการเองได้มาพิจารณาไว้ในแผนพัฒนา หากเกินศักยภาพของเทศบาล เมืองพัทยา และอบต. ให้เสนอปัญหา ความต้องการไปยัง อบจ. และให้ อบจ.นำมาพิจารณาบรรจุไว้ในแผนพัฒนาของ อบจ. ตามอำนาจหน้าที่
10
ข้อ 10 คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น มีอำนาจหน้าที่ (ต่อ)
3. พิจารณาร่างแผนพัฒนาและร่างแผนการดำเนินงาน 4. ให้ความเห็นร่างข้อกำหนดขอบข่ายและรายละเอียดของงานตามข้อ 19 (2) 5. พิจารณาให้ข้อคิดเห็นการติดตามประเมินผล 6. แต่งตั้งที่ปรึกษา, คณะอนุกรรมการ, คณะทำงาน 7. ในกรณี อบต. ให้คณะกรรมการพัฒนา อบต.มีหน้าที่ประสานกับประชาคมหมู่บ้านในการรวบรวม วิเคราะห์ปัญหา ความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นและจัดทำเป็นโครงการหรือกิจกรรมเพื่อประกอบในการจัดทำแผนฯแผน
11
2. “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนา” หมายความว่า คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนจังหวัด คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาเทศบาล คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาเมืองพัทยา คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาองค์การบริหารตำบลและคณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง
12
คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น
1. ปลัด อปท. เป็นประธาน 2. หัวหน้าส่วนการบริหารของ อปท. เป็นกรรมการ 3. ผู้แทนประชาคม 3 คน(ประชาคมคัดเลือก) เป็นกรรมการ 4. หัวหน้าส่วนการบริหารที่มีหน้าที่จัดทำแผน เป็นกรรมการและเลขานุการ 5. เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผนหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นมอบหมาย เป็นผู้ช่วยเลขานุการ
13
ข้อ 9 ให้ผู้บริหารท้องถิ่นแต่งตั้งคณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำ
แผนพัฒนาท้องถิ่น (1) ปลัด อปท. (2) หัวหน้าส่วนการบริหารของ อปท. (3) ผู้แทนประชาคมท้องถิ่น (4) หัวหน้าส่วนการบริหารที่มี หน้าที่จัดทำแผน (5) จนท.วผ.หรือพนักงานส่วน ท้องถิ่น ประธานฯกรรมการ กรรมการ กรรมการ/เลขาฯ ผู้ช่วยเลขาฯ 1 คน ทุกคน 3 คน โดยตำแหน่ง คัดเลือกกันเอง คราว ๒ ปี และอาจได้รับการ คัดเลือกอีกได้ ผู้บริหารแต่งตั้ง
14
ปลัด อปท. คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น
(ไม่น้อยกว่า 7 คน) ปลัด อปท. หัวหน้าส่วนการบริหารของ อปท. ทุกคน ผู้แทนประชาคมท้องถิ่น 3 คน หัวหน้าส่วนการบริหารที่มีหน้าที่จัดทำแผน จนท.วผ.หรือพนักงานส่วนท้องถิ่น
15
ข้อ 11 หน้าที่คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น
(1) จัดทำร่างแผนพัฒนาให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาที่คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นกำหนด (2) จัดทำร่างแผนการดำเนินงาน (3) จัดทำร่างข้อกำหนดขอบข่ายและรายละเอียดของงานตามข้อ 19(1) แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา บทที่ 1 บทนำ บทที่ 2 สภาพทั่วไป+ข้อมูลพื้นฐานของ อปท. บทที่ 3 การวิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนา ท้องถิ่น บทที่ 4 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และจุดมุ่งหมาย เพื่อการพัฒนา บทที่ 5 ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา บทที่ 6 การนำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา ไปสู่การปฏิบัติและการติดตาม ประเมินผล แผนพัฒนาสามปี ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สภาพทั่วไป + ข้อมูลพื้นฐาน ส่วนที่ 3 ผลการพัฒนาท้องถิ่นที่ผ่านมา ส่วนที่ 4 ยุทธศาสตร์และแนวทางการ พัฒนาในช่วงสามปี ส่วนที่ 5 บัญชีโครงการพัฒนา ส่วนที่ 6 การนำแผนพัฒนาสามปีไปสู่การปฏิบัติและการติดตามประเมินผล
16
หน้าที่ของคณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น
จัดทำร่างแผนพัฒนาให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาที่คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นกำหนด จัดทำร่างแผนการดำเนินงานและจัดทำร่างข้อกำหนดขอบข่ายและรายละเอียดของงานที่จะมอบหมายให้หน่วยงานหรือบุคคลภายนอกดำเนินการ เพื่อเสนอคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น
17
ระเบียบฯนี้ได้ลดขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาให้สั้น และกระชับโดยตัดขั้นตอนการให้ความเห็นชอบของ คณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นออก และ กำหนดให้ผู้บริหารท้องถิ่นมีอำนาจอนุมัติแผนพัฒนา แทนสภาท้องถิ่นซึ่งเป็นไปตามหลักการของกฎหมายที่ ให้ผู้บริหารท้องถิ่นมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของ ประชาชนแผนพัฒนาจึงควรเป็นเครื่องมือของฝ่าย บริหารในการแปลงนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
18
ข้อ 5 ของระเบียบฯนี้ กำหนดให้ปลัดกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามระเบียบนี้และให้มีอำนาจตีความและวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ และให้มีอำนาจกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติเพื่อดำเนินการให้เป็นไปตามระเบียบนี้ได้ ในกรณีที่มีเหตุจำเป็นให้ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอำนาจยกเว้นหรือผ่อนผันการปฏิบัติตามระเบียบนี้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นภายในเขตจังหวัด แล้วรายงานกระทรวงมหาดไทยทราบภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ยกเว้นหรือผ่อนผัน
19
ข้อ 12 การประชุมของคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนฯ คณะกรรมการติดตามและประเมินผล - ให้ประธานกรรมการเป็นประธานในที่ประชุม ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้กรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม - ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการ ทั้งหมด แล้วแต่กรณีจึงจะเป็นองค์ประชุม - การวินิจฉัยชี้ขาด ให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด
20
ข้อ 16 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
ขั้นตอนที่ 1 : การกำหนดแนวทางการพัฒนาท้องถิ่น ดำเนินการโดย : คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น - จัดประชุมประชาคมท้องถิ่น (กระบวนการส่งเสริมการ จัดทำแผนชุมชน) - ปัญหา หาสาเหตุ หาข้อมูล - ประเมินสภาพแวดล้อมท้องถิ่น (SWOT) - วิสัยทัศน์ พันธกิจ จุดมุ่งหมาย ตัวชี้วัด - ค่าเป้าหมาย ยุทธศาสตร์การพัฒนา และแนวทางการพัฒนา ขั้นตอนที่ 2 : จัดทำร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา ดำเนินการโดย : คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น รวบรวมข้อมูลพื้นฐาน - วิเคราะห์ฯ จัดหมวดหมู่ตามยุทธศาสตร์/แนวทางการพัฒนา
21
เค้าโครงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
บทที่ 1 บทนำ บทที่ 2 สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บทที่ 3 การวิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนาท้องถิ่น บทที่ 4 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนา บทที่ 5 ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา บทที่ 6 การนำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาไปสู่การปฏิบัติและการติดตาม ประเมินผล
22
การวิเคราะห์ กำหนดทิศทางการพัฒนา
23
ทิศทางการพัฒนาของ อปท.ในเขตจังหวัด
ข้อมูลระดับนโยบาย ๑. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ๒. นโยบายของรัฐบาล ๓. แผนพัฒนาภาค ๔. แผนพัฒนาจังหวัด ๕. แผนกระจายอำนาจฯ ๖. อำนาจหน้าที่ของ อปท./ภารกิจถ่ายโอน ข้อมูลสภาพปัญหา ๑. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ๒. ด้านงานส่งเสริมคุณภาพ ชีวิต ๓. ด้านการจัดระเบียบ ชุมชน/สังคม ๔. การส่งเสริมการลงทุน พณิชยกรรม และการ ท่องเที่ยว ๕. ด้านการบริหารจัดการและ การอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติฯ ๖. ด้านศิลปะ วัฒนธรรม จารีต ประเพณี และภูมิ ปัญญาท้องถิ่น ฯลฯ ทิศทางการพัฒนาของ อปท.ในเขตจังหวัด ข้อมูล นโยบาย ข้อมูล พื้นที่
24
สรุปผลการวิเคราะห์สภาวะแวดล้อม SWOT MATRIX
SO : นำจุดแข็งไปเพิ่มโอกาส (เชิงรุก) WO : นำโอกาสไปแก้ไขจุดอ่อน (เชิงพัฒนา) T : อุปสรรค ST : นำจุดแข็งไปลดอุปสรรค (เชิงตั้งรับ) WT : ปิดจุดอ่อนเพื่อลดอุปสรรค (เชิงแก้ปัญหา) ปัจจัย ภายใน ปัจจัยภายนอก
25
B : สรุปผลการกำหนดทิศทางการพัฒนาของ อปท.ในเขตจังหวัด
เชิงพัฒนา พันธกิจ วิสัยทัศน์ เชิงแก้ปัญหา จุดมุ่งหมาย ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย เชิงรุก ยุทธศาสตร์/ แนวทางการพัฒนา เชิงตั้งรับ
26
สภาพปัญหา การบริหารจัดการและการบริการ สาธารณะของ อปท.
สภาพปัญหา การบริหารจัดการและการบริการ สาธารณะของ อปท. ด้าน สภาพปัญญาในปัจจุบัน 1.การบริหารจัดการ 1. ประชาชนไม่ได้รับความสะดวกเมื่อมา ติดต่อราชการ 2. บุคคลไม่มีความรับผิดชอบ แสวงหา ประโยชน์ตนเองและพวกพ้อง และ หลงวัตถุนิยม 3. หน่วยต่างๆ ไม่มีการประสานงาน ทำเฉพาะงานที่ตนรับผิดชอบ
27
สภาพปัญหา การบริหารจัดการและการบริการ สาธารณะของ อปท.
สภาพปัญหา การบริหารจัดการและการบริการ สาธารณะของ อปท. ด้าน สภาพปัญญาในปัจจุบัน 2. สังคม/ชุมชนท้องถิ่น 1. ประชาชนแตกความสามัคคี ช่วยเหลือ ตนเองไม่ได้หวังพึงหน่วยงานของรัฐ 2. ค่าครองชีพสูง มีวัตถุนิยม คุณธรรมเริ่ม เสื่อม เอารัดเอาเปรียบ 3. ความยากจน เป็นหนี้นอกระบบ 4. ชอบเสี่ยงโชค
28
ปัจจัย ภายใน ปัจจัยภายนอก SWOT MATRIX จุดแข็ง (S)
1. มีระบบอินเตอร์เน็ต 2. มีบุคลากรเพียงพอ 3. มีการบริการเชิงยุทธศาสตร์ จุดอ่อน (W) 1. บุคลากรขาดความรับผิดชอบ 2. ขาดการประสานระหว่างหน่วยงาน 3. ประชาชนยากจน โอกาส (O) 1. มีแผนการกระจายอำนาจ 2. มีการประกวดการบริหารจัดการที่ดี 3. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (OS) 1. พัฒนาระบบสารสนเทศน์เพื่อการบริหารและการบริการให้มีประสิทธิภาพ 2. ส่ง อปท.เข้าประกวดการบริหารจัดการที่ดีเพื่อพัฒนาองค์กร 3. พัฒนาการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นให้มีศักยภาพ (OW) 1. พัฒนาบุคลากรตามหลัก ธรรมาภิบาล 2. ส่งเสริมการจัดทำแผนชุมชนเพื่อ สร้างเครือข่ายความร่วมมือ 3. นำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางการปฏิบัติงานทุกระดับ อุปสรรค (T) 1. เปลี่ยนนโยบายบ่อย 2. วัตถุนิยม 3. ค่าครองชีพสูง (TS) 1. ส่งเสริมการจัดทำบัญชีครัวเรือน 2. พัฒนาช่องทางการสื่อสารให้ประชาชนได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง 3. จัดหน่วยบริการเคลื่อนที่ร่วมกับหน่วยที่เกี่ยวข้อง (TW) 1. ส่งเสริมกิจกรรม 5 ส 2. สร้างค่านิยมที่ถูกต้องให้กับบุคลากร 3. ควบคุมการใช้งบประมาณให้เป็นไปตามระเบียบ กฎหมาย
29
วิสัยทัศน์ (VISION) ความหมาย ความคาดหวังในอนาคตขององค์กรที่จะต้องเป็น
ภาพในอนาคตที่เราต้องการจะสร้างขึ้น เมื่อไปถึงที่นั่นแล้วองค์กรจะมีลักษณะเป็นอย่างไร บอกทิศทางและรูปร่างขององค์กรในอนาคต และช่วยให้คนในองค์กรกำหนดเป้าหมายเพื่อให้เข้าใกล้อนาคตขึ้น
30
ลักษณะวิสัยทัศน์ (VISION) ที่ดี
สั้นๆ กระชับ ชัดเจน เข้าใจง่ายโดยบุคคลทึกระดับ มีความหมายครอบคลุมเนื้อหาที่ต้องการ ครบถ้วน มีความหมายในเชิงท้าทาย หรูเลิศ จับต้องได้ เป็นจริงได้ วัดผลได้ กระตุ้นให้เกิดความรู้สึกคึกคัด กระตือรือร้น ก่อให้เกิดความสมานสามัคคี
31
วิสัยทัศน์ (VISION) “เป็นองค์กรที่มีศักยภาพในการบริหารจัดการ และการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์สุข ของชุมชนท้องถิ่น”
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.