งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แผนฯ 12 แผนงานบูรณาการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล (4, ล้านบาท)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แผนฯ 12 แผนงานบูรณาการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล (4, ล้านบาท)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แผนฯ 12 แผนงานบูรณาการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล (4,971.2685 ล้านบาท)
( ล้านบาท) ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 2. ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน แผนฯ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 7 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ เป้าหมายที่ 5 การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล ขยายโครงข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงให้ครอบคลุมทั่วประเทศ และสร้างผู้ประกอบการธุรกิจดิจิทัลรายใหม่เพิ่มขึ้น พัฒนาระบบความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ให้มีประสิทธิภาพ มาตรฐานสากล รับมือภัยคุกคามทางออนไลน์ เป้าหมายแผนฯ 12 5.1 อันดับความพร้อมใช้ของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (NRI) ดีขึ้น ตัวชี้วัดเป้าหมาย แผนฯ 12 5.2 จำนวนหมู่บ้านที่มีอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเข้าถึง เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 30 เป็นมากกว่า ร้อยละ 85 5.4 จำนวนหน่วยงานภาครัฐมีระบบความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 47 เป็นมากกว่าร้อยละ 80 5.3 จำนวนผู้ประกอบการธุรกิจดิจิทัลเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 1,000 ราย เป้าหมายแผนบูรณาการ 1. เพิ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจและสร้างความเท่าเทียมทางสังคมด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ตัวชี้วัดเป้าหมาย แผนบูรณาการ 1.1 ผลการจัดอันดับขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศด้านโครงสร้างพื้นฐานและด้านสังคมดีขึ้นไม่น้อยกว่า 2 อันดับ (ตามการจัดอันดับ Network Readiness Index : NRI) แนวทาง แผนบูรณาการ 1.1.1 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีและบริการดิจิทัลเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต 1.1.2 ปรับเปลี่ยนคุณภาพกระบวนการทำงาน/บริการภาครัฐสู่ระบบดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพและมั่นคงปลอดภัย 1.1.3 ให้ความรู้และเพิ่มทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัลให้แก่ประชาชนและผู้ทำงานทุกสาขาอาชีพเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล 1.1.4 เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในเชิงดิจิทัลและสร้างความเชื่อมั่นในการใช้เทคโนโลยีในการดำเนินธุรกิจทั้งในประเทศและต่างประเทศ ตัวชี้วัด แนวทางแผน บูรณาการ ร้อยละ 50 ของหมู่บ้านที่มีบริการอินเทอร์เน็ต เข้าถึงด้วยความเร็วเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 10 Mbps จำนวนหน่วยงานภาครัฐมีฐานข้อมูล/สื่อในรูปแบบดิจิทัล เพื่อให้บริการประชาชน และภาคธุรกิจไม่น้อยกว่า 17 หน่วยงาน จำนวนระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐที่มีการเชื่อมโยงและบูรณาการข้อมูลข้ามหน่วยงานไม่น้อยกว่า 12 ระบบบริการและมีการเปิดเผยชุดข้อมูล (open data) เพิ่มขึ้น มีการพัฒนาและให้บริการอิเล็กทรอนิกส์ผ่านช่องทางศูนย์กลางบริการภาครัฐอย่างน้อย 17 บริการ จำนวนหน่วยงานภาครัฐระดับกรมที่มีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยและรับมือจากภัยคุกคาม ทางไซเบอร์ ไม่น้อยกว่า 80 หน่วยงาน ประชาชน นักศึกษาและบุคลากรด้านดิจิทัล ทั้งประเทศไม่น้อยกว่า 25,000 คน ได้รับความรู้และใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัล จำนวนผู้ประกอบ SMEs วิสาหกิจชุมชนรวมทั้ง Social Business ที่มีการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการประกอบการทำธุรกิจเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 15,000 คน ร้อยละของมูลค่าการซื้อ-ขายผ่านอิเล็กทรอนิกส์ (e-Commerce) เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 2 หน่วยงานที่รับผิดชอบ หน่วยงานเจ้าภาพ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวง เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 1. กรมประมง 2. กรมปศุสัตว์ 3. กรมส่งเสริมการเกษตร 4. กรมส่งเสริมสหกรณ์ 5. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1. สำนักงานสถิติแห่งชาติ 2. สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) กระทรวงมหาดไทย 1. กรมที่ดิน 2. กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงยุติธรรม สำนักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงวัฒนธรรม 1. สำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม 2. กรมศิลปากร 3. สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงศึกษาธิการ 1. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 2. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 3. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมโรค กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) กระทรวงมหาดไทย กรมการปกครอง กระทรวงศึกษาธิการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักนายกรัฐมนตรี สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานพัฒนา ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟแวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) กระทรวงศึกษาธิการ 1. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2. มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 3. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ 4. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 5. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 6. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1.สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) 2. สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) กระทรวงศึกษาธิการ 1. มหาวิทยาลัยนเรศวร 2. มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 3. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ 4. มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 5. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลพระนคร 6. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 7. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) กระทรวงพาณิชย์ กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงศึกษาธิการ สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์ งบประมาณแยกตามแนวทาง (ล้านบาท) 3, 1, 18 ตุลาคม 2559

2 แผนฯ 12 แผนงานบูรณาการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล (4,971.2685 ล้านบาท)
( ล้านบาท) ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 2. ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ แผนฯ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 7 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ ยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริต ประพฤติมิชอบ และธรรมาภิบาลในสังคมไทย เป้าหมายที่ 3 การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ เป้าหมายที่ 5 การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล ขยายโครงข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงให้ครอบคลุมทั่วประเทศ และสร้างผู้ประกอบการธุรกิจดิจิทัลรายใหม่เพิ่มขึ้น พัฒนาระบบความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ให้มีประสิทธิภาพ มาตรฐานสากล รับมือภัยคุกคามทางออนไลน์ เป้าหมายแผนฯ 12 เป้าหมายที่ 1 ลดสัดส่วนค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรและเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการให้บริการของภาครัฐ และประสิทธิภาพการประกอบธุรกิจของประเทศ 5.1 อันดับความพร้อมใช้ของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (NRI) ดีขึ้น ตัวชี้วัด ๓.๒ จำนวนธุรกรรมการให้บริการการนำเข้าและส่งออกด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์เป็นร้อยละ ๑๐๐ 1.1 อันดับประสิทธิภาพของภาครัฐ จัดทำโดยสถาบันนานาชาติ อยู่ในอันดับสองของอาเซียน เมื่อสิ้นสุดแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ตัวชี้วัดเป้าหมาย แผนฯ 12 5.2 จำนวนหมู่บ้านที่มีอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเข้าถึง เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 30 เป็นมากกว่า ร้อยละ 85 5.3 จำนวนผู้ประกอบการธุรกิจดิจิทัลเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 1,000 ราย 5.4 จำนวนหน่วยงานภาครัฐมีระบบความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 47 เป็นมากกว่าร้อยละ 80 เป้าหมายแผนบูรณาการ 1. เพิ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจและสร้างความเท่าเทียมทางสังคมด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล 2. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการให้บริการภาครัฐด้วยการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ตัวชี้วัดเป้าหมาย แผนบูรณาการ 1.1 ผลการจัดอันดับขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศด้านโครงสร้างพื้นฐานและด้านสังคมดีขึ้นไม่น้อยกว่า 2 อันดับ (ตามการจัดอันดับ Network Readiness Index : NRI) 2.1 อันดับความสามารถในการแข่งขัน E- Government ของไทยเป็นอันดับที่ 3 ในกลุ่มประเทศอาเซียน แนวทาง แผนบูรณาการ 1.1.1 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีและบริการดิจิทัลเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต 1.1.2 ให้ความรู้และเพิ่มทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัลให้แก่ประชาชนและผู้ทำงานทุกสาขาอาชีพเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล 1.1.3 เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในเชิงดิจิทัลและสร้างความเชื่อมั่นในการใช้เทคโนโลยีในการดำเนินธุรกิจทั้งในประเทศและต่างประเทศ 2.1.1 ปรับเปลี่ยนคุณภาพกระบวนการทำงาน/บริการภาครัฐสู่ระบบดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพและมั่นคงปลอดภัย ตัวชี้วัด แนวทางแผน บูรณาการ ร้อยละ 50 ของหมู่บ้านที่มีบริการอินเทอร์เน็ต เข้าถึงด้วยความเร็วเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 10 Mbps จำนวนหน่วยงานภาครัฐมีฐานข้อมูล/สื่อในรูปแบบดิจิทัล เพื่อให้บริการประชาชน และภาคธุรกิจไม่น้อยกว่า 17 หน่วยงาน ประชาชน นักศึกษาและบุคลากรด้านดิจิทัล ทั้งประเทศไม่น้อยกว่า 25,000 คน ได้รับความรู้และใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัล จำนวนผู้ประกอบ SMEs วิสาหกิจชุมชนรวมทั้ง Social Business ที่มีการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการประกอบการทำธุรกิจเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 15,000 คน ร้อยละของมูลค่าการซื้อ-ขายผ่านอิเล็กทรอนิกส์ (e-Commerce) เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 2 จำนวนระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐที่มีการเชื่อมโยงและบูรณาการข้อมูลข้ามหน่วยงานไม่น้อยกว่า 12 ระบบบริการและมีการเปิดเผยชุดข้อมูล (open data) เพิ่มขึ้น มีการพัฒนาและให้บริการอิเล็กทรอนิกส์ผ่านช่องทางศูนย์กลางบริการภาครัฐอย่างน้อย 17 บริการ จำนวนหน่วยงานภาครัฐระดับกรมที่มีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยและรับมือจากภัยคุกคาม ทางไซเบอร์ ไม่น้อยกว่า 80 หน่วยงาน หน่วยงานที่รับผิดชอบ หน่วยงานเจ้าภาพ 3, 1, งบประมาณแยกตามแนวทาง (ล้านบาท) 18 ตุลาคม 2559

3 ส่วนอื่นที่เกี่ยวข้องตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12
ส่วนอื่นที่เกี่ยวข้องตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน 3.2 การยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ ....ให้มีการปฏิรูประบบการเรียนรู้ โดยมุ่งจัดการเรียนรู้เพื่อสร้างสมรรถนะกาลังคนทั้งระบบตั้งแต่ระดับปฐมศึกษาจนถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิต การวิจัยและการใช้เทคโนโลยีและสื่อเพื่อการเรียนรู้ 4. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม 4.2 การพัฒนาระบบบริการและระบบบริหารจัดการสุขภาพ.. พัฒนาการบริหารจัดการระบบสุขภาพด้วยการมีและใช้ระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรด้านสาธารณสุข การพัฒนาสื่อสารมวลชนให้เป็นกลไกสนับสนุนการพัฒนา ..พัฒนาภาคประชาชนให้มีความรู้เท่าทันสื่อโดยเฉพาะสื่อออนไลน์ ส่วนอื่นที่เกี่ยวข้องตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 1. ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ เป้าหมายที่ 3 คนไทยมีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลและมีความสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัด 3.2 การใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการอ่านหาความรู้เพิ่มขึ้น 3. ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน เป้าหมายที่ 6 เพิ่มประสิทธิภาพของภาคการเงินเพื่อให้เป็นกลไกสนับสนุนการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม ตัวชี้วัด 6.4 เพิ่มปริมาณการใช้บริการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์เป็น 200 ครั้ง/ปี/คน 5. ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคั่งและยั่งยืน ตัวชี้วัด 5.3 อันดับความเสี่ยงจากการโจมตีด้านไซเบอร์/ต่ำกว่าอันดับที่ 10 ของโลก (ดัชนีความปลอดภัยไซเบอร์ของโลกของ International Telecommunication Union: ITU )

4 ดาวน์โหลดที่ www. mict. go
ดาวน์โหลดที่ => Digital Economy => เอกสารเผยแพร่ 4. แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ปวีร์รวี เสาวภา


ดาวน์โหลด ppt แผนฯ 12 แผนงานบูรณาการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล (4, ล้านบาท)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google