ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การบันทึกบัญชีที่สำคัญ
2
มีการเปลี่ยนแปลง 4 หัวข้อใหญ่ๆ
1. การบันทึกบัญชีเงินกองทุน UC งบเหมาจ่ายรายหัว 2. การบันทึกบัญชีเงินกองทุน UC งบบริหารจัดการงบค่าเสื่อม 3. การบันทึกบัญชีเงินบริจาค กรณีเงินที่ได้รับบริจาคโดยมีข้อจำกัด ให้ใช้ได้เฉพาะดอกผลที่เกิดจากเงินต้น บันทึกรับรู้เป็นหมวดทุน 4. เพิ่มผังบัญชี 4.1. ทุน-คงเหลือยอดเงินต้น (เงินบริจาครอการรับรู้) 4.2. ค่ารักษาเบิกจ่ายตรง อปท 4.3. ค่าจ้างพนักงานกระทรวงสาธารณสุข 4.4. ค่าจ้างเหมาบุคลากร 4.5. ค่าจ้างตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Lab) 4.6. ค่าจ้างตรวจเอกซเรย์ (X-Ray) 4.7. ค่าวัสดุทันตกรรมใช้ไป 4.8. ส่วนต่างค่ารักษาที่ต่ำกว่าประกันสังคม
3
เงินโครงการประกัน สุขภาพถ้วนหน้า
การบันทึกบัญชี เงินฝากธนาคาร บันทึก 2 ขั้นตอน เงินฝากธนาคาร – นอกงบประมาณรอการจัดสรร เงินฝากธนาคาร – นอกงบประมาณ เงิน UC บันทึก 3 ขั้นตอน เมื่อได้รับครั้งแรก ลงบัญชีเป็นเงินรับฝากกองทุน UC เมื่อจัดสรร ให้ลงบัญชีเป็นรายได้ค่ารักษา UC- OPD รับล่วงหน้า นำรายได้รับล่วงหน้ามาตัดกับลูกหนี้ UC
4
เงินโครงการประกัน สุขภาพถ้วนหน้า(ของใหม่)
ในกรณีที่ลูกหนี้UC OPD มีมากกว่า เงินโอน สิ้นเดือนให้ตัดลูกหนี้ UC OPD เข้าบัญชี ส่วนต่างค่ารักษาที่สูงกว่าเหมาจ่ายรายหัวกองทุน UC – OPD ทั้งจำนวน เมื่อได้รับเงินโอน นำเงินนั้นมาหารเฉลี่ยด้วยจำนวนเดือนที่ได้รับแล้วจึงนำมาตัดกับลูกหนี้ UC OPD ในเดือนนั้นๆถ้ามีผลต่างให้นำมาบันทึกเข้าบัญชี ส่วนต่างค่ารักษาที่สูงกว่าเหมาจ่ายรายหัวกองทุน UC – OPD ทั้งจำนวนที่โอนมา หลักการนี้มีข้อดีคือ ทำให้ทราบว่าแต่ละเดือนมีส่วนต่างค่ารักษาอยู่เท่าไร ของเดิมทราบเป็นรายไตรมาส
5
งบทดลอง(ของใหม่) 31 ธันวาคม 2555
รายการ Dr Cr เงินฝากธนาคาร นอกงบประมาณ ,000,000 รายได้UC รับล่วงหน้า ,000,000 รายได้ค่ารักษา UC- OPD ใน CUP ,000,000 ส่วนต่างค่ารักษาที่สูงกว่าเหมาจ่ายรายหัว UC-OPD ,000,000 ___________________________________ 11,000, ,000,000 ไม่มียอดลูกหนี้คงค้าง ในสิ้นเดือน จะเหลือบัญชีส่วนต่างค่ารักษา และ รายได้UC รับล่วงหน้าในกรณีที่โอนมามากกว่า3 เดือน
6
กรณีลูกหนี้น้อยกว่าเงินกองทุน UC-OPD ที่ได้รับจัดสรร(ของใหม่)
สิ้นเดือนให้ตัดลูกหนี้ UC OPD เข้าบัญชี ส่วนต่างค่ารักษาที่สูงกว่าเหมาจ่ายรายหัวกองทุน UC – OPD ทั้งจำนวนในกรณีที่เงินยังไม่ได้โอนมา เมื่อได้รับเงินโอน ให้หารด้วยจำนวนเดือนที่ได้รับโอนมา แล้วนำเงินมาตัดกับลูกหนี้ UC OPD ในเดือนนั้นๆ ส่วนลูกหนี้ของเดือนที่ผ่านมาให้ตัดกับบัญชี ส่วนต่างค่ารักษาที่สูงกว่าเหมาจ่ายรายหัวกองทุน UC – OPD ทั้งจำนวนที่บันทึก แต่ละเดือนจะมีผลต่างเกิดขึ้นให้บันทึกเป็น รายได้เงินกองทุน UC – OPD
7
งบทดลอง(ของใหม่) 31 ธันวาคม 2555
รายการ Dr Cr เงินฝากธนาคาร นอกงบประมาณ 8,000,000 รายได้ค่ารักษา UC- OPD รับล่วงหน้า ,000,000 รายได้ค่ารักษา UC- OPD ใน CUP 6,000,000 รายได้เงินกองทุน UC 1,000,000 ___________________________________ 8,000, ,000,000 ไม่มียอดลูกหนี้คงค้าง ในสิ้นเดือนถ้าเงินที่โอนมามากกว่า 3 เดือน
8
UC-IPD กรณีลูกหนี้สูงกว่า เงินกองทุน(ของใหม่)
สิ้นเดือนให้ตัดลูกหนี้ UC IPD เข้าบัญชี ส่วนต่างค่ารักษาที่สูงกว่าข้อตกลงในการจ่ายตาม DRG ตามประเภทของ ลูกหนี้ IPD หลักการจะเหมือนกับ OPD คือ ลูกหนี้จะไม่มีในตอนสิ้นเดือน เมื่อได้รับเงินโอนต้องนำเงินไปหารเท่ากับจำนวนเดือนที่ได้รับจะนำไปตัดกับบัญชี ส่วนต่าง ที่เหลือจะเข้าบัญชี รายได้รับล่วงหน้า การตัดในเดือนที่ได้รับเงินในกรณีที่เงินไม่พอ จะใช้สัดส่วนของลูกหนี้ทั้งหมดเป็น ร้อยแล้วคิดตามสัดส่วน ผลต่างนำไปเข้าบัญชีส่วนต่างค่ารักษาที่สูงกว่าข้อตกลงในการจ่ายตาม DRG ตามประเภทของ ลูกหนี้ IPD
9
UC-IPD กรณีลูกหนี้น้อยกว่า เงินกองทุน ( เงินเหลือของใหม่)
สิ้นเดือนให้ตัดลูกหนี้ UC IPD เข้าบัญชี ส่วนต่างค่ารักษาที่สูงกว่าข้อตกลงในการจ่ายตาม DRG ตามประเภทของ ลูกหนี้ IPD หลักการจะเหมือนเดิม คือ ลูกหนี้จะไม่มีในตอนสิ้นเดือน เมื่อได้รับเงินโอนจะต้องนำไปหารตามจำนวนเดือนที่ได้รับจัดสรรก่อนนำไปตัดบัญชีในแต่ละเดือนกับบัญชี ส่วนต่าง ที่เหลือจะเข้าบัญชี รายได้กองทุน UC- IPD(หมวด 4)
10
การบันทึกบัญชีเงินบริจาค
เมื่อได้รับเงินบริจาค Dr เงินฝากนอกงบที่มีวัตถุประสงค์ Cr. ทุน คงยอดเงินต้น(รหัส3XXXX รหัสใหม่)
11
การบันทึกบัญชีเงินบริจาค
เมื่อได้รับดอกเบี้ย ลงบัญชี 2 ขั้นตอน 1.Dr เงินฝากนอกงบที่มีวัตถุประสงค์ Cr. ดอกเบี้ยรับจากเงินฝากธนาคาร(4xxxx)
12
การบันทึกบัญชีเงินบริจาค
เมื่อได้รับดอกเบี้ย 2.Dr เงินฝากนอกงบออมทรัพย์ Cr. เงินฝากนอกงบที่มีวัตถุประสงค์
13
การบันทึกบัญชีเงินบริจาค
เมื่อสิ้นกันยายน 2556 มีเงินบริจาครอการรับรู้เหลืออยู่ให้ปรับบัญชี โดย Dr. รายได้จากเงินบริจาครอการรับรู้ Cr. ทุน คงยอดเงินต้น(รหัส3XXXX รหัสใหม่)
14
งบบริหารจัดการงบค่าเสื่อม(ของใหม่)
บันทึกบัญชี 1 ขั้นตอน โดยรับรู้เป็นรายได้งบลงทุนเมื่อได้รับเงินโอน DR เงินฝากนอกงบประมาณมีวัตถุประสงค์(งบลงทุน) Cr. รายได้กองทุน UC งบลงทุน(4XXXXX) ถ้าเป็นของสอ. และโรงพยาบาลมีหน้าที่จัดซื้อให้สอ. ให้ลงบัญชีเป็น Cr.เงินรับฝากกองทุน UC (งบลงทุน)
15
หน่วยบริการรักษาพยาบาลผู้ป่วยเบิกจ่ายตรง อปท OPD
ผู้ป่วยเบิกจ่ายตรง อปท มารับบริการ Dr ลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาลเบิกจ่าย อปท OPD Cr รายได้ค่ารักษาเบิกจ่ายตรง อปท OPD เมื่อได้รับเงินโอนค่ารักษาพยาบาล Dr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณ Cr ลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาลเบิกจ่าย อปท OPD
16
หน่วยบริการรักษาพยาบาลผู้ป่วยเบิกจ่ายตรง อปท IPD
ผู้ป่วยเบิกจ่ายตรง อปท มารับบริการ Dr ลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาลเบิกจ่าย อปท IPD Cr รายได้ค่ารักษาเบิกจ่ายตรง อปท IPD เมื่อได้รับเงินโอนน้อยกว่าค่ารักษาพยาบาล Dr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณ ส่วนต่างที่สูงกว่าข้อตกลงในการตามจ่าย DRG เบิกจ่ายตรง อปท Cr ลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาลเบิกจ่าย อปท IPD เมื่อได้รับเงินโอนมากกว่าค่ารักษาพยาบาล ส่วนต่างที่ต่ำกว่าข้อตกลงในการตามจ่าย DRG เบิกจ่ายตรง อปท
17
1 ตุลาคม 2556 ปรับปรุงแยกวัสดุทันตกรรม
Dr วัสดุทันตกรรม Cr เวชภัณฑ์มิใช่ยา , วัสดุการแพทย์ เมื่อกรรมการได้ตรวจรับพัสดุถูกต้องครบถ้วน Cr เจ้าหนี้เวชภัณฑ์มิใช่ยา , วัสดุการแพทย์ เมื่อชำระเงินให้ผู้ขาย Dr เจ้าหนี้เวชภัณฑ์มิใช่ยา , วัสดุการแพทย์ Cr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณ ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
18
กรอบการบันทึกบัญชีค่าตอบแทนให้เจ้าหน้าที่
สิ้นเดือนหน่วยบริการจ่ายเงินให้เจ้าหน้าที่ Dr ค่าตอบแทนตามประเภท Cr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณ สิ้นเดือนหน่วยบริการไม่ได้จ่ายเงินให้เจ้าหน้าที่ Cr ค่าตอบแทนตามประเภทค้างจ่าย หน่วยบริการจ่ายเงินค่าตอบแทนค้างจ่าย Dr ค่าตอบแทนตามประเภทค้างจ่าย สิ้นปีงบประมาณหน่วยบริการไม่มีเงินจ่ายค่าตอบแทนที่ค้างจ่าย (กลับรายการ) Cr ค่าตอบแทนตามประเภท
19
การจ่ายเงินค่าจ้างพนักงานกระทรวงสาธารณสุข
Dr ค่าจ้างพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (บริการ) (สนับสนุน) Cr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณ
20
การจ่ายค่าจ้างเหมาบุคลากรปฏิบัติงานที่มีลักษณะเป็นการประจำ
Dr ค่าจ้างเหมาบุคลากร (บริการ) (สนับสนุน) Cr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณ
21
ค่าจ้างตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Lab)
Dr ค่าจ้างตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Lab) Cr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณ
22
ค่าจ้างตรวจเอ็กซ์เรย์ (X-Ray)
Dr ค่าจ้างตรวจเอ็กซ์เรย์(X-Ray) Cr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณ
25
สรุปเงินฝากธนาคารนอกงบประมาณรอจัดสรรจะต้องเท่ากับบัญชีเงินรับฝากกองทุน
บัญชีเงินฝากธนาคาร บัญชีเงินรับฝากกองทุน ยอดเงินคงเหลือบัญชีเงินฝากธนาคารนอกงบประมาณรอการจัดสรร 1. บัญชีเงินรับฝากกองทุน UC เงินจัดสรรให้ลูกข่าย 3. เงินกองทุนประกันสังคม เงินรับฝากค่าบริหารจัดการ ประกันสังคม เงินรับฝากกองทุนแรงงาน ต่างด้าว
26
การรับเงินงบลงทุนค่าเสื่อม UC จะต้องเท่ากับบัญชีเงินรับฝากกองทุน
บัญชีเงินฝากธนาคาร ประเภทรายได้หมวด 4 บัญชีเงินฝากธนาคาร-นอกงบประมาณที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะ(งบลงทุน UC) การรับเงินมีการบันทึกบัญชีรายได้กองทุน UC (งบลงทุน) ประเภทรายได้กองทุน UC (งบลงทุน)
27
บัญชีเงินฝากธนาคาร-นอกงบประมาณที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะ
เงินบริจาคที่มีวัตถุประสงค์ เงินมัดจำประกันสัญญา เงินโครงการ PP
28
กรอบการบันทึกบัญชีเกณฑ์คงค้าง ประเภทเงิน UC จัดสรรให้ลูกข่าย
29
หน่วยบริการได้รับเงินโอนเหมาจ่ายรายหัวผู้ป่วยนอกล่วงหน้างวดที่ 1 จาก สป.สช. จำนวน 7,000,000 บาท จัดสรรให้ลูกข่าย 1,000,000 บาท Dr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณ(UC CUP) 6,000, Cr รายได้ค่ารักษา UC – OPD รับล่วงหน้า6,000, โรงพยาบาลจัดสรรให้ลูกข่าย 1,000,000 บาท Dr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณรอจัดสรร 1,000, Cr เงินรับฝากกองทุน UC 1,000,
30
โรงพยาบาลโอนเงินเหมาจ่ายรายหัว OPD ให้ลูกข่าย 1,000,000 บาท
โรงพยาบาล Dr เงินรับฝากกองทุน UC 1,000, Cr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณรอจัดสรร ,000,000 ลูกข่าย Dr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณ 1,000, Cr รายได้ค่ารักษา UC – OPD รับล่วงหน้า1,000,
31
กรอบการบันทึกบัญชีเกณฑ์คงค้าง ประเภทเงิน UC การรับเงินจาก สป. สช
32
กรณีได้รับเงินจัดสรรกองทุน UC ตามผลงานการบันทึกข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยนอก / แพทย์ทางเลือก / ข้อมูลด้านการเงินการคลัง (จัดสรรเป็นของแม่ข่ายและลูกข่าย) รพ.ลงบัญชี Dr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณ (UC CUP) Cr รายได้กองทุน UC – OPD อื่น จัดสรรให้ ลูกข่าย Dr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณรอจัดสรร Cr เงินรับฝากกองทุน UC
33
กรณีได้รับเงินจัดสรรกองทุน UC เพื่อการบริการเฉพาะโรคอื่น เช่น ผู้ติดเชื้อโรคเอดส์ จิตเวช ทดแทนไต และกองทุนโรคเฉพาะอื่น ซึ่งไม่ได้ใช้งบเหมาจ่ายรายหัว (ส่วนที่เป็นค่าบริหารจัดการ Dr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณ Cr รายได้กองทุน UC เฉพาะโรคอื่น
34
กรณีได้รับเงินจัดสรรเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคทุกโครงการจาก สสจ./สป.สช.และหน่วยงานอื่น P&P อื่น(จัดสรรเป็นของแม่ข่ายและลูกข่าย) รพ.ลงบัญชี Dr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณ Cr รายได้กองทุน UC – OPD อื่น จัดสรรให้ ลูกข่าย Dr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณรอจัดสรร Cr เงินรับฝากกองทุน UC
35
กรณีได้รับเงินจัดสรรกองทุน UC อื่น ๆ ที่ได้รับโอนจาก สสจ. /สป. สช
Dr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณ Cr รายได้กองทุน UC อื่น
36
กรณีได้รับเงินช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีผู้รับบริการ(มาตรา41)และเงินช่วยเหลือเบื้องต้นกรณีผู้ให้บริการ (จ่ายผ่านบัญชี 6 ของ สสจ.) Dr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณรอจัดสรร Cr เงินรับฝากกองทุน UC เมื่อมีการจ่ายเงินให้บันทึกบัญชีกลับรายการ Dr เงินรับฝากกองทุน UC Cr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณรอจัดสรร
37
กรอบการบันทึกบัญชีเกณฑ์คงค้าง ประเภทเงินประกันสังคม
38
คู่สัญญาหลักได้รับเงินโอนจากกองทุนประกันสังคม (ทั้งส่วนของ 25% , 75% และเงินที่ได้รับจากกองทุนประกันสังคม) รพ.คู่สัญญาหลัก (Main Contractor) Dr เงินฝากธนาคาร-นอกงบฯรอจัดสรร (ปกส) 1,000, Cr เงินกองทุนประกันสังคม 1,000, คู่สัญญารอง ไม่มีการบันทึกบัญชี
39
เงินบริหารจัดการเพื่อการพัฒนาระบบบริการ 5 % กรณีคู่สัญญาหลักเป็นผู้ดูแลเงิน การจ่ายจัดสรรเงินเข้า 5 % กรณี รพ.คู่สัญญาหลัก ลงบัญชี 2 คู่บัญชี Dr เงินกองทุนประกันสังคม 50, Cr เงินฝากธนาคาร-นอกงบฯรอจัดสรร (ปกส) 50, Dr เงินฝากธนาคาร-นอกงบฯรอจัดสรร (5%) 50,000 Cr เงินรับฝากค่าบริหารจัดการประกันสังคม 50,
40
เงินบริหารจัดการเพื่อการพัฒนาระบบบริการ 5 % กรณีคู่สัญญาหลักเป็นผู้ดูแลเงิน การจ่ายเงินค่าบริหารจัดการ รพ.คู่สัญญาหลัก จ่ายเอง กรณี รพ.คู่สัญญาหลัก ลงบัญชี 2 คู่บัญชี Dr ค่าใช้จ่ายตามประเภท 10,000 (หมวด 5 รายจ่าย) Cr เงินฝากธนาคาร-นอกงบฯรอจัดสรร (5%) 10, Dr เงินรับฝากค่าบริหารจัดการประกันสังคม 10, Cr รายได้ค่าบริหารจัดการประกันสังคม 10,
41
เงินบริหารจัดการเพื่อการพัฒนาระบบบริการ 5 % กรณีคู่สัญญาหลักเป็นผู้ดูแลเงิน
รพ.คู่สัญญาหลัก จ่ายให้คู่สัญญารอง / สสจ Dr เงินรับฝากค่าบริหารจัดการประกันสังคม 20, ) Cr เงินฝากธนาคาร-นอกงบฯรอจัดสรร (5%) 20, คู่สัญญารอง / สสจ รับเงิน Dr เงินฝากธนาคาร-นอกงบฯ 20, Cr รายได้ค่าบริหารจัดการประกันสังคม 20,
42
เงินบริหารจัดการเพื่อการพัฒนาระบบบริการ 5 % กรณีคู่สัญญาหลักเป็นผู้ดูแลเงิน
คู่สัญญารอง / สสจ จ่ายเงิน Dr ค่าใช้จ่ายตามประเภท 10,000 (หมวด 5 รายจ่าย) Cr เงินฝากธนาคาร-นอกงบฯ 10,
43
เงินบริหารจัดการเพื่อการพัฒนาระบบบริการ 5 % กรณี สสจ เป็นผู้ดูแลเงิน การจ่ายจัดสรรเงินเข้า 5 %
รพ.คู่สัญญาหลัก Dr เงินกองทุนประกันสังคม 50, Cr เงินฝากธนาคาร-นอกงบฯรอจัดสรร (ปกส) 50, สสจ. Dr เงินฝากธนาคาร-นอกงบฯรอจัดสรร (5%) 50,000 Cr เงินรับฝากค่าบริหารจัดการประกันสังคม 50,
44
เงินบริหารจัดการเพื่อการพัฒนาระบบบริการ 5 % กรณี สสจ เป็นผู้ดูแลเงิน การจ่ายเงินค่าใช้จ่ายจัดการ สสจ จ่ายเอง Dr ค่าใช้จ่ายตามประเภท 10,000 (หมวด 5 รายจ่าย) Cr เงินฝากธนาคาร-นอกงบฯรอจัดสรร (5%) 10, Dr เงินรับฝากค่าบริหารจัดการประกันสังคม 10, Cr รายได้ค่าบริหารจัดการประกันสังคม 10,
45
เงินบริหารจัดการเพื่อการพัฒนาระบบบริการ 5 % กรณี สสจ เป็นผู้ดูแลเงิน
สสจ.จ่ายให้คู่สัญญารอง Dr เงินรับฝากค่าบริหารจัดการประกันสังคม 20, ) Cr เงินฝากธนาคาร-นอกงบฯรอจัดสรร (5%) 20, คู่สัญญารอง รับเงิน Dr เงินฝากธนาคาร-นอกงบฯ 20, Cr รายได้ค่าบริหารจัดการประกันสังคม 20,
46
เงินบริหารจัดการเพื่อการพัฒนาระบบบริการ 5 % กรณี สสจ เป็นผู้ดูแลเงิน
คู่สัญญารอง จ่ายเงิน Dr ค่าใช้จ่ายตามประเภท 10,000 (หมวด 5 รายจ่าย) Cr เงินฝากธนาคาร-นอกงบฯ 10,
47
เงินกองทุนประกันสังคม การรับรู้ลูกหนี้/รายได้ค่ารักษาประกันสังคม OPD/IPD
รพศ./รพท./รพช. Dr ลูกหนี้ค่ารักษาประกันสังคม OPD/IPDตามประเภท Cr รายได้ค่ารักษาประกันสังคม OPD/IPDตามประเภท
48
หน่วยบริการรับรู้ลูกหนี้/รายได้ค่ารักษาประกันสังคม OPD
การรับรู้ลูกหนี้/รายได้ค่ารักษาประกันสังคม OPD เครือข่าย (รพ.สต.) Dr ลูกหนี้ค่ารักษาประกันสังคม OPDเครือข่าย 3, Cr รายได้ค่ารักษาประกันสังคม OPDเครือข่าย 3, การรับรู้ลูกหนี้/รายได้ค่ารักษาประกันสังคม OPD นอกเครือข่าย (รพ.สต.) Dr เงินสด 2,000 Cr รายได้ชำระเงินเอง 2,
49
เมื่อสิ้นงวดบัญชีแต่ละเดือนปรับปรุงลูกหนีประกันสังคมในเครือข่ายตามสัดส่วนหนี้สูญ
Dr ส่วนต่างค่ารักษาที่สูงกว่าเหมาจ่ายรายหัวและข้อตกลง OPD/IPD /317/318/319 Cr ลูกหนี้ค่ารักษาประกันสังคม OPD/IPD เครือข่าย/นอกเครือข่าย /302/303/304
50
หน่วยบริการคู่สัญญาหลักจัดสรรเงินค่าบริการทางการแพทย์และค่าพัฒนากิจการ 15 % ให้ รพ.สต.
กรณีได้รับเงินน้อยกว่าลูกหนี้ค่ารักษา Dr เงินรับฝากนอกงบ 5, = 5, Dr ส่วนต่างค่ารักษาที่สูงกว่าเหมาจ่ายรายหัว-กองทุนประกันสังคม OPD 2, Cr ลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาลประกันสังคม OPD เครือข่าย ,000 Cr รายได้ค่าตอบแทนและพัฒนากิจการ
51
หน่วยบริการคู่สัญญาหลักจัดสรรเงินค่าบริการทางการแพทย์และค่าพัฒนากิจการ 15 % ให้ รพ.สต.
กรณีได้รับเงินมากกว่าลูกหนี้ค่ารักษา Dr เงินรับฝากนอกงบ 5, = 5, Cr ลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาลประกันสังคม OPD เครือข่าย ,500 Cr รายได้กองทุนประกันสังคม Cr รายได้ค่าตอบแทนและพัฒนากิจการ
52
กรอบการบันทึกบัญชีเกณฑ์คงค้าง ประเภทเงินแรงงานต่างด้าว
53
วันที่ 30 สิงหาคม 2556 โรงพยาบาลขายบัตรประกันสุขภาพคนต่างด่าวจำนวน 5 คน ๆ ละ บาท รวมเป็นเงิน 14,000 บาท Dr เงินสด (5*2800) 14, Cr รายได้ค่าตรวจสุขภาพ-บุคคลภายนอก(600*5) ,000 Cr รายได้ค่ารักษาแรงงานต่างด้าวรับล่วงหน้า(914*5) ,570 Cr เงินรับฝากกองทุนแรงงานต่างด้าว ( )* ,430
54
เงินแรงงานต่างด้าว นำเงินค่าลงทะเบียนแรงงานต่างด้าวฝากธนาคาร Dr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณรอจัดสรร 14, Cr เงินสด 14, โรงพยาบาลโอนเงินค่าบริหารจัดการให้ สสจ.และส่วนกลาง Dr เงินรับฝากกองทุนแรงงานต่างด้าว 6, Cr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณรอจัดสรร 6,430
55
ปรับปรุงเงินฝากธนาคารเงินแรงงานต่างด้าว
Dr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณออมทรัพย์ 4, Cr เงินฝากธนาคารนอกงบประมาณรอจัดสรร 4,
56
วันที่ 30 กย (สิ้นปีงบประมาณ) ปรับปรุงรายได้ค่ารักษาแรงงานต่างด้าวรับล่วงหน้าเป็นจำนวนเงิน 3,570 บาท (4, เหลือรายได้รับล่วงหน้า 3,570 บาท) Dr รายได้ค่ารักษาแรงงานต่างด้าวรับล่วงหน้า 3, Cr รายได้กองทุนแรงงานต่างด้าว 3,
57
กรอบการบันทึกบัญชีเกณฑ์คงค้าง ประเภทเงินอุดหนุน บุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ
58
สสจ.โอนเงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิให้หน่วยบริการ
Dr ค่าใช้จ่ายอื่น-เงินงบประมาณงบอุดหนุนโอนไป รพ Cr เงินฝากธนาคาร-เงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะ และสิทธิ
59
สสจ.ได้รับเงินจากการวางฎีกาเบิกเงินอุดหนุนฯ จากคลังจังหวัด
Dr เงินฝากธนาคารในงบประมาณ Cr รายได้เงินงบประมาณ-งบอุดหนุน
60
สสจ.โอนเงินฝากธนาคารในงบประมาณ เข้าบัญชีเงินฝากอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ
Dr เงินฝากธนาคาร-เงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะ และสิทธิ Cr เงินฝากธนาคารในงบประมาณ
61
กรณีสสจ.เบิกจ่ายเงินค่าบริหารจัดการ
Dr ค่าใช้จ่ายตามประเภท (หมวด 5) Cr เงินฝากธนาคาร-เงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะ และสิทธิ
62
รพศ./รพท./รพช./ ได้รับเงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ
รพศ./รพท./รพช./ ได้รับเงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ Dr เงินฝากธนาคาร-เงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะ และสิทธิ Cr รายได้อื่น-เงินงบประมาณงบอุดหนุนรับโอนจาก รพ
63
สสจ./รพศ./รพท.เมื่อได้รับดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร เงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ
Dr เงินฝากธนาคาร-เงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะ และสิทธิ Cr รายได้ดอกเบี้ยเงินฝากที่สถาบันการเงิน (รายได้แผ่นดิน)
64
รพช.เมื่อได้รับดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร เงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ
Dr เงินฝากธนาคาร-เงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะ และสิทธิ Cr เงินรับฝากรายได้แผ่นดินอื่น
65
รพช.นำส่งดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารเงินอุดหนุนที่มีปัญหาสถานะและสิทธิให้ สสจ.ส่งเป็นรายได้แผ่นดิน
Dr เงินรับฝากรายได้แผ่นดินอื่น Cr เงินฝากธนาคาร-เงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะ และสิทธิ
66
สสจ. รับดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารเงินอุดหนุนที่มีปัญหาสถานะและสิทธิที่ รพช
สสจ.รับดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารเงินอุดหนุนที่มีปัญหาสถานะและสิทธิที่ รพช. ส่งเป็นรายได้แผ่นดิน Dr เงินฝากธนาคาร-เงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะ และสิทธิ Cr รายได้ดอกเบี้ยเงินฝากที่สถาบันการเงิน (รายได้แผ่นดิน)
67
สสจ./รพศ./รพท./ นำส่งดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารเงินอุดหนุนเป็นรายได้แผ่นดิน
Dr รายได้แผ่นดินนำส่งคลัง Cr เงินฝากธนาคาร-เงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะ และสิทธิ
68
สสจ./ รพศ./ รพท./ รพช./ จ่ายค่าใช้จ่ายโครงการ PP
Dr ค่าใช้จ่ายตามโครง การ (P&P) บุคคลที่มีปัญหาสถานะ และสิทธิ Cr เงินฝากธนาคาร-เงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะ
69
สสจ./ รพศ./ รพท./รพช. หากมีเงินเหลือจ่ายให้นำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน (ตามระเบียบเงินอุดหนุนสามารถใช้ได้ 2 ปี) สสจ./ รพศ./ รพท. Dr ผลสะสมจากการแก้ไขข้อผิดพลาด Cr รายได้เงินเหลือจ่ายปีเก่า รพช. Cr เงินรับฝากรายได้แผ่นดินอื่น
70
รพช.โอนเงินเหลือจ่ายปีเก่าให้ สสจ. เพื่อส่งเป็นรายได้แผ่นดิน
Dr เงินรับฝากรายได้แผ่นดินอื่น Cr เงินฝากธนาคาร-เงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะ และสิทธิ
71
สสจ. ได้รับเงินที่รพช. โอนเงินเหลือจ่ายปีเก่า ให้ สสจ
สสจ.ได้รับเงินที่รพช.โอนเงินเหลือจ่ายปีเก่า ให้ สสจ. เพื่อส่งเป็นรายได้แผ่นดิน Dr เงินฝากธนาคาร-เงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะ และสิทธิ Cr เงินรับฝากรายได้แผ่นดินอื่น
72
สสจ. นำส่งรายได้แผ่นดิน
Dr เงินรับฝากรายได้แผ่นดินอื่น (เงินเหลือจ่ายส่วนของ รพช) Dr รายได้แผ่นดินนำส่งคลัง (ดอกเบี้ยส่วนของ รพช) Cr เงินฝากธนาคาร-เงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะ และสิทธิ
73
รพศ./ รพท./ นำส่งรายได้แผ่นดิน
Dr รายได้แผ่นดินนำส่งคลัง Cr เงินฝากธนาคาร-เงินอุดหนุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะ และสิทธิ
74
กรณีผู้ป่วยบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ ที่ขึ้นทะเบียนมารับบริการ
รพศ./ รพท./ รพช./ ไม่ต้องบันทึกบัญชี แต่ให้เก็บข้อมูลการให้บริการเพื่อส่งรายงานให้ส่วนกลาง
75
กรอบการบันทึกบัญชีเกณฑ์คงค้าง ประเภทเงินจ่ายตรงกรมบัญชีกลาง ปีงบประมาณ 2558
76
กรมบัญชีกลาง สสจ รพศ./รพท สสอ รพช รพ.สต.
เงินงบประมาณ เงินงบประมาณ เงินที่เบิกจ่ายจากกรมบัญชีกลางผ่านระบบ GFMIS ซึ่งปัจจุบันมีเพียง สสจ. กับ รพท./รพศ. ที่เป็นหน่วยเบิกจ่ายเท่านั้น กรมบัญชีกลาง สสจ รพศ./รพท สสอ รพช รพ.สต.
77
รหัสจากกรมบัญชีกลางสำหรับเงินเดือนจ่ายตรง
งบบุคลากร เงินเดือน ค่าจ้างประจำ งบสก.110 เงินประจำตำแหน่งบริหารระดับสูง – ผอก งบสก.120 เงินประจำตำแหน่งชำนาญการ-ชำนาญการพิเศษ 5,600/3,500 งบสก.130 เงินประจำตำแหน่งเชี่ยวชาญ 9,900 ตข-8-8 ว เงินค่าตอบแทนชำนาญพิเศษที่ไม่ใช่วิชาชีพ 3,500 ตขท.ปจต. เงินตอบแทนรายเดือนสำหรับข้าราชการเท่ากับเงิน ประจำตำแหน่ง ตดจ. เงินตอบแทนรายเดือนสำหรับลูกจ้างประจำ (เงินติดดาว) ตดข1-7 เงินค่าตอบแทนรายเดือนสำหรับข้าราชการ1-7
78
รหัสจากกรมบัญชีกลางสำหรับเงินเดือนจ่ายตรง
งบดำเนินงาน ต.พ.ข. ว 319 เงินตอบแทนพิเศษของข้าราชการผู้ได้รับ เงินเดือนถึงขั้นสูงสุดของอันดับ ต.พ.จ. ว 319 เงินตอบแทนพิเศษของลูกจ้างประจำ ผู้ได้รับค่าจ้างถึงขั้นสูงสุดของอันดับ
79
ประเภทเงินงบประมาณ งบรายจ่ายส่วนราชการ งบบุคลากร เช่น เงินเดือน /เงินประจำตำแหน่ง/ค่าจ้างประจำ/เงินติดดาว/ค่าตอบแทนพนักงานราชการ (เงินเดือน) งบดำเนินงาน เช่นค่าเช่าบ้าน/ค่าตอบแทน พตส./หมวดค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ/ค่าตอบแทนเต็มขั้น งบลงทุน เช่นค่าครุภัณฑ์/ค่าสิ่งก่อสร้าง งบอุดหนุน เช่น เงินอุดหนุนผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ งบรายจ่ายอื่น เช่น เงินค่าปรับที่จ่ายคืนให้แก่ผู้ขายหรือผู้รับจ้าง/ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว งบกลาง เช่นค่ารักษาพยาบาล/เงินช่วยเหลือบุตร/กบข/กสจ
80
ข้อควรสังเกตของเงินงบประมาณ
สิ้นเดือนจะต้องตรวจสอบ รายได้เงินงบประมาณงบบุคลากร = ค่าใช้จ่ายเงินงบประมาณบุคลากร กรณีที่จ่ายไม่ได้ภายในเดือนให้บันทึก Dr ค่าใช้จ่ายตามประเภท Cr รายได้งบประมาณบุคลากร UC ( ) Dr รายได้ค้างรับ Cr ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย รายได้เงินงบประมาณ ค่าใช้จ่ายเงินงบประมาณ
81
ข้อควรสังเกตของเงินงบประมาณ
กรณีกรมบัญชีกลางโอนเงินเข้าบัญชีเจ้าหน้าที่โดยตรง การบันทึกบัญชี Dr ค่าใช้จ่ายตามประเภท(เงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ/ตำแหน่ง) Cr รายได้งบประมาณบุคลากร UC Dr ค่าใช้จ่ายตามประเภท (เงินตอบแทนเต็มขั้น ขรจ/ลูกจ้างประจำ) Cr รายได้งบประมาณงบดำเนินการ Dr ค่าใช้จ่ายตามประเภท (กบข / กสจ) Cr รายได้งบประมาณกลาง
82
ข้อควรสังเกตของเงินงบประมาณ
กรณี สสจ.เบิกจ่ายเงินให้ รพช./รพ.สต การบันทึกบัญชี การรับเงิน Dr เงินฝากธนาคาร- ในงบประมาณ Cr รายได้งบประมาณบุคลากร UC การจ่ายเงิน Dr ค่าใช้จ่ายตามประเภท(เงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ/ตำแหน่ง) Cr เงินฝากธนาคาร- ในงบประมาณ
83
ข้อควรสังเกตของเงินงบประมาณ
กรณี สสจ.เบิกจ่ายเงินให้ รพช./รพ.สต การบันทึกบัญชี การรับเงิน Dr เงินฝากธนาคาร- ในงบประมาณ Cr รายได้อื่น-เงินงบประมาณงบดำเนินงานรับโอนจาก สสจ./รพศ./รพท./รพช. / รพ.สต การจ่ายเงิน Dr ค่าใช้จ่ายตามประเภท (เงินตอบแทนเต็มขั้น ขรจ/ ลูกจ้างประจำ หมวดงบดำเนินงาน) Cr เงินฝากธนาคาร- ในงบประมาณ
84
ข้อควรสังเกตของเงินงบประมาณ
กรณี สสจ.เบิกจ่ายเงินให้ รพช./รพ.สต การบันทึกบัญชี การรับเงิน Dr เงินฝากธนาคาร- ในงบประมาณ Cr รายได้อื่น-เงินงบประมาณงบกลางรับโอนจาก สสจ./รพศ. /รพท./รพช. /รพ.สต การจ่ายเงิน Dr ค่าใช้จ่ายตามประเภท (ค่ารักษาพยาบาล / ค่าเล่าเรียน) Cr เงินฝากธนาคาร- ในงบประมาณ
85
ข้อควรสังเกตของเงินงบประมาณ
กรณี สสจ.เบิกจ่ายเงินงบประมาณแทนกันให้ รพศ./รพท การบันทึกบัญชี การรับเงิน Dr เงินฝากธนาคาร- ในงบประมาณ Cr รายได้ระหว่างกัน-เงินงบประมาณ รับโอนจาก สสจ./ รพศ./รพท การจ่ายเงิน Dr ค่าใช้จ่ายตามประเภท(หมวด5) Cr เงินฝากธนาคาร- ในงบประมาณ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.