งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การดำเนินงาน Service plan สาขายาเสพติด ของเขตสุขภาพที่ 3

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การดำเนินงาน Service plan สาขายาเสพติด ของเขตสุขภาพที่ 3"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การดำเนินงาน Service plan สาขายาเสพติด ของเขตสุขภาพที่ 3
นายแพทย์อังกูร ภัทรากร (นายแพทย์ทรงคุณวุฒิด้านเวชกรรมสาขาจิตเวช) รองผู้อำนวยการสถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี และ พญ.ธีราพร วิทิตสิริ ประธาน SP สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช และยาเสพติด

2 เป้าหมายการพัฒนานาระบบบริการด้านยาเสพติด
มีมาตรการส่งเสริมป้องกัน ระดับรร. ชุมชน สถานประกอบการ ผู้ป่วยเข้าถึงบริการบำบัดรักษาตามสิทธิผู้ป่วย แทนการลงโทษความผิดเน้น สมัครใจและกึ่งสมัครใจตาม คสช.108/2557 ผู้ป่วยทุกระบบได้รับการบำบัดฟื้นฟูตามเกณฑ์มาตรฐาน รวมทั้งมาตรการลดอันตรายจากยาเสพติด (Harm reduction) สถานพยาบาลยาเสพติดเพียงพอ มีมาตรฐานได้รับการรับรองคุณภาพ (HA ยาเสพติด) บุคลากรผู้ปฏิบัติงานบำบัดรักษามีความรู้ความชำนาญตามมาตรฐานวิชาชีพ

3 เป้าหมายการดำเนินงานปี 2560
จูงใจค้นหา มาตรการเชิงบวก ระบบสมัครใจ 74,000 ราย ระบบบังคับบำบัด 72,500 ราย ระบบต้องโทษ 20,200 ราย กึ่งสมัครใจ ตาม คสช. 108 53,300 ราย Education รพ.สต.,รพช, ผู้ใช้ V2=2-3 รอตรวจพิสูจน์ (กรมราชทัณฑ์) กรมพินิจ กรมราชทัณฑ์ ยินยอม BA,BI รพช. รพท. รพศ. ค่ายศูนย์ขวัญฯ ผู้เสพ V2=4-26 *ศูนย์เพื่อการคัดกรอง (รพ.ทุกแห่ง) *คณะอนุกรรมการ ฟื้นฟูฯ -MI - CBT -Matrix Program - ศุนย์ฟื้นฟูชุมชน ผู้ติด V2= 27 ขึ้น * ไม่ควบคุมตัว 41,000 ราย ควบคุมตัว 31,500 ราย Emergency Treatment รพ.ทุกแห่ง วิกฤติ ฉุกเฉิน เรื้อรัง/มีโรคแทรกซ้อน * ไม่เข้มงวด ( สธ ) กรมการแพทย์ กรมสุขภาพจิต พหุภาคี (ทอ ทบ ทร ตร ปค) ** เข้มงวด ( คป) ศูนย์ ลาดหลุมแก้ว ศูนย์ ปัตตานี * ศูนย์ สมุทรปราการ * ทอ. ทร. * เรื้อรัง ยุ่งยาก ซั้บซ้อน ผู้ป่วยนอก-ใน กรมการแพทย์ โรคร่วมทางจิตเวช ผู้ป่วยนอก-ใน กรมสุขภาพจิต

4 ผลการดำเนินงานบำบัดรักษายาเสพติด จำแนกตามรายเขต (ปี2559)
สาขายาเสพติด เขต 3 ผลการดำเนินงานบำบัดรักษายาเสพติด จำแนกตามรายเขต (ปี2559) เชียงใหม่ เชียงราย ปทุมธานี อยุธยา ชลบุรี ฉะเชิงเทรา กรุงเทพ นครราชสีมา อุบลราชธานี ขอนแก่น มหาสารคาม สงขลา ราชบุรี นครปฐม อุดรธานี สุราษ, นครศรีธรรมราช พิษณุโลก ตาก นครสวรรค์ เขต

5 สาขายาเสพติด เขต 3(ต่อ)
สาขายาเสพติด เขต 3(ต่อ) ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่าย จากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์ที่กำหนด ปี 2559 (จำแนกตามเขตสุขภาพ) ที่มา : ระบบรายงานข้อมูล บสต ณ วันที่ 22 ส.ค. 59.

6 สาขายาเสพติด เขต 3(ต่อ)
สาขายาเสพติด เขต 3(ต่อ) ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่าย จากการบำบัดรักษา ตามเกณฑ์ที่กำหนด ปี 2560 ของเขตสุขภาพที่ 3 จำแนกรายจังหวัด ที่มา : รายงานการตรวจราชการ (ผลการดำเนินงาน รอบ 6 เดือน)

7 ข้อมูลการจัดบริการเขตสุขภาพที่ 3
สาขายาเสพติด เขต 3 (ต่อ) ข้อมูลการจัดบริการเขตสุขภาพที่ 3 จังหวัด จำนวน รพ. ผ่าน HA ยาเสพติด บริการ MMT แพทย์ พยาบาล เฉพาะทางฯ สาขายาเสพติด กำแพงเพชร 11 5 (45.45) - 1 /10 1/10 พิจิตร 10 7 (70.0) 1/9 2/8 นครสวรรค์ 13 7 (53.85) 2/11  4/9 อุทัยธานี 8 7 (87.50) -/8 1/7 ชัยนาท 6 6 (100.0) 1 1/5 6/- รวม 48 32 (66.67) 5/43 14/34 (ข้อมูล ณ วันที่14 ก.พ.2560)

8 สาขายาเสพติด เขต 3 (ต่อ)
สาขายาเสพติด เขต 3 (ต่อ) Gap analysis Plan (Leadership & Governance) - โครงสร้างไม่ชัดเจน และอัตรากำลังยังไม่เพียงพอในการดำเนินงาน - ยังไม่มีระบบการกำกับดูแลมาตรฐานและบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยบำบัดในพื้นที่ (บังคับบำบัด ต้องโทษ) ควรกำหนดโครงสร้างงานยาเสพติดเฉพาะ และมีผู้รับผิดชอบงานให้ชัดเจน - กำหนดกรอบอัตรากำลังและความก้าวหน้าเพื่อเป็นขวัญกำลังใจ กำหนดโครงสร้างการปฏิบัติงานในงาน/กลุ่มงานจิตเวชและยาเสพติด (สำนักงานปลัดกระทรวงฯ) (Service delivery) - การพัฒนาและรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (HA ยาเสพติด) ยังไม่ถึงเป้าหมาย - สบยช. จัดผู้รับผิดชอบให้การสนับสนุนเขตในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องข้อกำหนด เกณฑ์มาตรฐาน สถานพยาบาลยาเสพติด กระตุ้นหน่วยงานให้เข้าสู่กระบวนการพัฒนาและรับรองคุณภาพ

9 สาขายาเสพติด เขต 3 (ต่อ)
สาขายาเสพติด เขต 3 (ต่อ) Gap analysis Plan (Service delivery) ไม่มีสถานที่บำบัดหรือส่งต่อผู้ป่วยที่มีภาวะวิกฤตฉุกเฉินทางยาเสพติด หรือผู้ป่วยที่เกินศักยภาพของ รพช. หรือ ผู้ติดรุนแรง บริการ MMT ยังไม่ครอบคลุม ( มี รพ.ชัยนาท เปิดดำเนินงาน 1 แห่ง) - สนับสนุนให้เขต จัดบริการเตียงผู้ป่วยยาเสพติดภาวะเร่งด่วน (Acute care) ในรพ.ระดับ A,S, M1 ( สปร.กำลังดำเนินการ) สนับสนุนการจัดระบบส่งต่อผู้ป่วย ให้คำปรึกษา และการ ประสานงานกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายในพื้นที่ และ สบยช. สนับสนุนให้มีการจัดบริการ คลินิค MMT ในทุกจังหวัด หรือมีระบบการจัดบริการให้เพียงพอในเขตสุขภาพ (Health workforce) การพัฒนาศักยภาพบุคลากรยังไม่ครบตามกรอบของ Service plan เช่น พยาบาลเฉพาะทางยาเสพติด เวชศาสตร์ยาเสพติดสำหรับแพทย์ เขตสำรวจความขาดแคลนแพทย์ รพช. และสนับสนุนเข้าอบรม ที่ สบยช. (สำหรับ รพท รพศ. ให้พบจิตแพทย์น่าจะเพียงพอ) ทีมจิตแพทย์ของเขต 3 มีการอบรมให้แพทย์ รพช.ไปแล้ว 2 ครั้ง (ประมาณ 10 แห่ง) และจัดทำแผ่นภาพพลิกให้ความรู้และแนวปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยยาเสพติดแก่ รพ. ทุกระดับในเขตสุขภาพ อบรม บสต. ระบบใหม่ ครบถึงระดับ รพ.สต. อบรม Matrix, MET ครบทุก รพ. อบรม BA, BI ถึงระดับ รพ.สต.

10 หลักสูตรที่มีความต้องการเร่งด่วน ในพัฒนาบุคลากรระดับผู้ปฏิบัติงาน
สาขายาเสพติด เขต 3 (ต่อ) หลักสูตรที่มีความต้องการเร่งด่วน ในพัฒนาบุคลากรระดับผู้ปฏิบัติงาน หลักสูตรเวชศาสตร์ยาเสพติดสำหรับแพทย์ (หลักสูตร 3 วัน) (หน่วยจัดอบรม คือ สบยช. รพ.ธ.เชียงใหม่ ขอนแก่น สงขลา) หลักสูตรเวชศาสตร์ฉุกเฉินและยาเสพติด (ที่ สบยช.) หลักสูตรพยาบาลเฉพาะทาง (4 เดือน )สาขายาเสพติด

11 แผนการดำเนินงานด้านยาเสพติดของเขตสุขภาพที่ 3 งบประมาณปี 2560
สาขายาเสพติด เขต 3 (ต่อ) แผนการดำเนินงานด้านยาเสพติดของเขตสุขภาพที่ 3 งบประมาณปี 2560 พัฒนาสมรรถนะบุคลากรด้านยาเสพติด ขอสนับสนุนงบประมาณฝึกอบรมจากหน่วยงาน และเขตสุขภาพ พัฒนาระบบ และศักยภาพบุคลากรใน รพศ. / รพท. ให้สามารถดูแลผู้ป่วยระยะบำบัดด้วยยา / วิกฤติฉุกเฉิน ประชุมคณะกรรมการ Service Plan ยาเสพติดและกำหนดกรอบการดำเนินงานในระดับเขต/จังหวัด (จัดประชุมไปแล้ว 1 ครั้ง) พญ.ธีราพร วิทิตสิริ ประธาน SP สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช และยาเสพติด นางนีรนุช โชติวรางกูล เลขา SP สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช และยาเสพติด สนับสนุนการประเมินเพื่อรับรองคุณภาพสถานบำบัดรักษายาเสพติด (HA ยาเสพติด) กำกับดูแลมาตรฐานและบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยบำบัดในพื้นที่ (บังคับบำบัด ต้องโทษ) มีการดำเนินร่วมกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายในพื้นที่ เช่น โรงเรียน ปกครอง ยุติธรรม ฯ

12 ประเด็นการพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือด้านบริการและวิชาการ
ระหว่างกรมการแพทย์กับเขตสุขภาพที่ 3 สาขายาเสพติด ปีงบประมาณ 2560 สิ่งที่ต้องการ ร้อยละ 92 ของผู้ป่วยยาเสพติด ที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่าย จากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนด GAP Analysis Service delivery : คุณภาพของการบริการยาเสพติด Health workforce : ขาดแคลนสหวิชาชีพหลายสาขา Leadership and Governance : - การส่งเสริมป้องกันปัญหายาเสพติดในทุกกลุ่มวัย - อำนาจในการประสานงานและการปรับเปลี่ยนคุณภาพของค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม Planning พัฒนาคุณภาพการบริการยาเสพติดในสถานบริการ (เขตสุขภาพ) กำหนดโครงสร้างการปฏิบัติงานในงาน/กลุ่มงานจิตเวชและยาเสพติด (สำนักงานปลัดกระทรวงฯ) สนับสนุนการเพิ่มอัตรากำลังคน และความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน (สำนักงานปลัดกระทรวงฯ) Situation Analysis การแพร่ระบาดของปัญหายาเสพติดเพิ่มมากขึ้น ประชาชนขาดความตระหนักในปัญหายาเสพติด ผู้เสพส่วนใหญ่ไม่สมัครใจเข้ารับการบำบัดรักษา มาตรฐานการบำบัดยังไม่เป็นเป็นแนวทางเดียวกัน (HA ยาเสพติด) การบันทึก บสต. ยังไม่ครบถ้วนเป็นปัจจุบัน ความสามารถในการจัดการคุณภาพของค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โครงสร้างการปฏิบัติงานยังไม่ชัดเจน ขาดแคลนกำลังคนในการปฏิบัติงาน

13 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt การดำเนินงาน Service plan สาขายาเสพติด ของเขตสุขภาพที่ 3

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google