ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยวิจิตร วอชิงตัน ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
การจัดตั้งและการดำเนินงาน ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน (ศพค.)
2
ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน (ศพค.)
ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน จัดตั้งขึ้นครั้งแรกในปี 2547 เพื่อทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางขององค์กรภาคประชาชน ที่มาร่วมกัน ดูแลป้องกันและแก้ไขปัญหาครอบครัวในชุมชน มีการบริหารจัดการในรูปของ “คณะทำงานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน” โดยมีเครือข่าย (กลุ่มครอบครัว) เป็นสมาชิกและอยู่ภายใต้ การดูแลและสนับสนุนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในหลายด้าน อาทิ ด้านวิชาการ งบประมาณ บุคลากร
3
โครงสร้างศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน
กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว โดยมีที่ปรึกษา ได้แก่ ผู้บริหาร อบต./ เทศบาล ผอ.รพ.สต. ผอ. รร. พระสงฆ์ เป็นต้น จนท.อปท. ผู้นำชุมชน พัฒนาสังคมฯ มหาดไทย สาธารณสุข ศึกษาธิการ ภาคประชาสังคม สตรี ผู้สูงอายุ อสม./อพม. สภาเด็ก และเยาวชน ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน ผู้นำตามธรรมชาติ ตัวแทนครอบครัว สมาชิก อบต. 1. สำรวจ / ศึกษาปัญหา 2. เฝ้าระวัง ป้องกัน แก้ไขปัญหา / ให้คำแนะนำ 3. พัฒนาและส่งเสริมความเข้มแข็งของครอบครัว ครอบครัวปกติ ครอบครัวทุกช่วงวัย ครอบครัวที่ประสบปัญหา ความเข้มแข็งของ ครอบครัวและชุมชน ป้องกัน แก้ไขปัญหา สัมพันธภาพในครอบครัว หย่าร้าง ความรุนแรงในครอบครัว ยาเสพติด ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ฯลฯ
4
กระบวนการจัดตั้งศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนระดับจังหวัด
1 พมจ ทำหนังสือสอบถามความพร้อม และความต้องการจัดตั้ง ศพค. ไปยัง อปท. 2 พมจ.ลงพื้นที่ อปท. ชี้แจงการดำเนินงาน ศพค.กับผู้บริหารท้องถิ่นที่มีความสนใจ 3. อปท. จัดเวทีประชาคม สร้างเครือข่ายครอบครัว เพื่อคัดเลือกคณะทำงาน ศพค. 4. ประชุมชี้แจงการดำเนินงานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน 5. ประชาสัมพันธ์การดำเนินงาน ศพค. ให้ประชาชนรู้จัก 6. สนับสนุนกิจกรรมศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน 7. ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ศพค. 8. พมจ. แจ้งคำสั่งแต่งตั้ง ศพค. มายัง สค. 9. พมจ. จัดทำทำเนียบ ศพค. ไว้เพื่อเป็นฐานข้อมูลประกอบด้วย รายชื่อ ศพค. / ปีที่จัดตั้ง/ ชื่อประธาน ศพค./ ที่ตั้ง ศพค./ ชื่อ จนท. อปท. ผู้ประสานงาน ศพค. / เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้ เป็นต้น
5
กระบวนการจัดตั้ง/ทบทวนการดำเนินงาน ศพค. ระดับตำบล
1. ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจการดำเนินงาน ศพค. ระดับตำบล 2 คัดเลือกคณะทำงาน ศพค 3.จัดทำข้อบังคับ ศพค. 4 จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน 5 จัดทำแผนการดำเนินงาน ศพค. 6 การประชาสัมพันธ์ การดำเนินงาน ศพค. 1 สำรวจข้อมูล 2 จัดทำแผนฯ เพื่อเป็นกรอบการทำงานของ ศพค. นายกฯ ลงนามในคำสั่ง
6
ขั้นตอนการดำเนินงานของศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน
1 ประชุมคณะทำงาน ศพค. เพื่อกำหนดเป้าหมาย ทิศทาง หรือแนวทางการทำงานของ ศพค. 2. มอบหมายงาน และแบ่งบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ 3. สำรวจข้อมูล หรือการจัดเก็บข้อมูล เพื่อให้มีฐานข้อมูลประกอบการทำแผนงาน/โครงการ 4. จัดทำแผนงานด้านการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัว 5. ดำเนินงานตาม จัดกิจกรรม/โครงการ 6. การจัดทำบัญชี รายรับ รายจ่าย เก็บเอกสารการเงิน 7. การติดตาม ประเมินผลความสำเร็จของโครงการ 8. การรวบรวม สรุป รายงานผลการดำเนินงานประจำปี
7
เครือข่ายชุมชน และเครือข่ายภายนอก
บทบาทหน้าที่ในการดำเนินงาน ศพค. เป็นที่ปรึกษา และ สนับสนุน ส่งเสริม การดำเนินงาน ศพค. อย่างต่อเนื่อง อปท. ศพค. เครือข่ายชุมชน และเครือข่ายภายนอก สนับสนุนการดำเนินงานของ ศพค. จนท. อปท. สำรวจข้อมูลครอบครัว สอดส่อง เฝ้าระวังปัญหาครอบครัวในพื้นที่ ประสานความช่วยเหลือครอบครัวที่ประสบปัญหา เชื่อมประสานการทำงานทุกส่วน
8
วัตถุประสงค์ ของการดำเนินงานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน
3 2 เพื่อสร้างโอกาสให้ชุมชนได้เรียนรู้และมีส่วนร่วมในการพัฒนาครอบครัวที่ จะนำไปสู่ความเข้มแข็งของชุมชนใน การป้องกันและแก้ไขปัญหาสังคมอย่างยั่งยืน 1 เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีศูนย์รวม ในการพัฒนาครอบครัวที่มีการบริหารจัดการ โดยชุมชน ในรูปของศูนย์พัฒนาครอบครัว ในชุมชน เพื่อให้เกิดการประสานความร่วมมือในการพัฒนาสถาบัน ครอบครัวแบบบูรณาการจาก ทุกภาคส่วน
9
บทบาทหน้าที่ ของศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน
สำรวจข้อมูล พัฒนาเสริมสร้าง เฝ้าระวัง บทบาทหน้าที่ของ ศพค. ทำงานบนฐานข้อมูลครอบครัว เน้นแก้ไขปัญหาครอบครัวลักษณะเฉพาะ สร้างเวทีเรียนรู้ครอบครัวในพื้นที่ สร้างการมีส่วนร่วมของครอบครัวในชุมชน ดำเนินกิจกรรม/โครงการที่แก้ไขปัญหา ค้นหาครอบครัวต้นแบบ ประสานการทำงานร่วมกับ อปท . ผลักดันแผนครอบครัวเข้าสู่ข้อบัญญัติ หรือเทศบัญญัติของ อปท. รายงานผลการดำเนินงาน ผ่านมาตรฐาน ศพค.
10
สำรวจข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล ดำเนินกิจกรรม จัดทำ แผนครอบครัว
กระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว ข้อมูลเฝ้าระวังและคุ้มครองเด็ก (CPMS) ข้อมูลสถานการณ์ความรุนแรงในครอบครัว มาตรฐานครอบครัวเข้มแข็ง AAR สำรวจข้อมูล ติดตาม/ประเมินผล พัฒนาปรับปรุงกระบวนการ สถานการณ์ปัญหาครอบครัวในชุมชนครอบครัวกลุ่มเฉพาะ แนวทางปฏิบัติตามมาตรฐานครอบครัวเข้มแข็ง วิเคราะห์ข้อมูล จัดเวทีประชาคม ดำเนินกิจกรรม กิจกรรม/โครงการ การเฝ้าระวัง นำข้อมูลมาวิเคราะห์ ลำดับปัญหาที่สำคัญ ค้นหาทุกข์/สุขของครอบครัว จัดทำ แผนครอบครัว แนวทางการช่วยเหลือ การช่วยเหลือประสานส่งต่อได้อย่างเหมาะสม -เทคนิคการเขียนโครงการ การให้คำปรึกษาครอบครัวเบื้องต้น แผนเฝ้าระวัง/ป้องกัน -แผนเสริมสร้าง -แผนแก้ไข เน้นกระบวนมีส่วนร่วมของครอบครัว 10
11
มาตรฐานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน
หมายถึง ข้อกำหนด หรือ เกณฑ์ ที่ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน ของศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถบรรลุถึงภารกิจของศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน ซึ่งมีแนวทางการดำเนินงาน 5 ด้าน ดังนี้ การสร้างเครือข่ายเฝ้าระวัง แก้ไขปัญหาครอบครัว การจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัวอย่างต่อเนื่อง การประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารและการดำเนินงานด้านครอบครัว การถ่ายทอดความรู้ด้านครอบครัว การประสานความร่วมมือระหว่าง ศพค. กับหน่วยงานอื่น สามารถส่งรายงาน ศพค. มฐ. ได้ภายในเดือนสิงหาคม ปี 2561
12
แนวทางการดำเนินงาน ศพค. ให้ประสบความสำเร็จ
ศพค. มีเป้าหมายการทำงานที่ชัดเจน ศพค. รู้บทบาทหน้าที่ของตน การพัฒนาตนเองของ ศพค. ประสานการทำงานกับเครือข่ายอื่นๆ สร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในชุมชน ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ศพค.อย่างต่อเนื่อง การประชุม อย่างสม่ำเสมอ และมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง มีฐานข้อมูลและนำข้อมูลมาใช้ในการแก้ไขปัญหา
13
ผลลัพธ์การดำเนินงาน ศพค.
ศพค. เป็นกลไกหลัก ในการทำงานด้านครอบครัว ในพื้นที่ ชุมชนเกิดกระบวนการเรียนรู้เพื่อครอบครัวอย่างต่อเนื่อง เกิดเครือข่ายครอบครัวดูแลซึ่งกันและกัน อย่างญาติมิตร ครอบครัว มีความสุข เกิดความอบอุ่น เข้มแข็ง Family Happy
14
สค. พมจ. ภาคี เครือข่าย ที่เกี่ยวข้อง
สค. พมจ. ภาคี เครือข่าย ที่เกี่ยวข้อง อปท. ครอบครัวอบอุ่น เข้มแข็ง ศพค.
15
ท้องถิ่นเข้มแข็ง.......ครอบครัวอบอุ่น เข้มแข็ง
กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เลขที่ 255 ถนนราชวิถี แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ Fackbook : ศพค สำนักส่งเสริมสถาบันครอบครัว โทรศัพท์/โทรสาร
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.