งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบรรยาย หัวข้อ “การดำเนินงานตามมาตรการป้องกัน และลดอุบัติเหตุทางถนน” วันที่ 7 เมษายน 2558 ณ วิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ผอ.สำนักบูรณาการสาธารณภัย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบรรยาย หัวข้อ “การดำเนินงานตามมาตรการป้องกัน และลดอุบัติเหตุทางถนน” วันที่ 7 เมษายน 2558 ณ วิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ผอ.สำนักบูรณาการสาธารณภัย."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบรรยาย หัวข้อ “การดำเนินงานตามมาตรการป้องกัน และลดอุบัติเหตุทางถนน” วันที่ 7 เมษายน 2558 ณ วิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ผอ.สำนักบูรณาการสาธารณภัย อุบัติภัย และความปลอดภัยทางถนน นายเชษฐา โมสิกรัตน์ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

2 1. Overview ภารกิจด้านความปลอดภัยทางถนน 4 ประเด็น 1 2 3 4 สภาพปัญหาความปลอดภัยทางถนนของ ประเทศไทยเพื่อนำไปสู่การแก้ไข ความมุ่งมั่นในการแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุ ตามแนวทางสากล กำหนดกลไกการขับเคลื่อนนโยบาย ด้านความปลอดภัยทางถนน การขับเคลื่อนมาตรการที่เกี่ยวข้อง ด้านความปลอดภัยทางถนน 2

3 1.1 ปัญหาอุบัติเหตุทางถนนเป็นปัญหาสำคัญที่ทุกประเทศเผชิญแนวโน้มและผู้เสียชีวิตและ บาดเจ็บสูงขึ้น และความรุนแรงของอุบัติเหตุเพิ่มขึ้น จากสถิติ ดังนี้ สถิติระดับสากล  WHO คาดประมาณอัตราการ เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนของ ประเทศไทยในปี 2010 (พ.ศ. 2553) สูงเป็นอันดับ 3 ของโลก คิดเป็น 38 รายต่อแสนประชากร  อันดับ 1 ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ 1. Overview ภารกิจด้านความปลอดภัยทางถนน 4 ประเด็น (ต่อ) 1 สภาพปัญหาความปลอดภัยทางถนนของประเทศไทย เพื่อนำไปสู่การแก้ไข  ผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรทั่วโลก เฉลี่ยวันละ 3,242 คน และเหยื่ออุบัติเหตุ ที่กลายเป็นผู้พิการเพิ่มขึ้นอีกปีละ 20 – 50 ล้านคน (ที่มา: world report on road traffic injury prevention. Geneva, World Health Organization, 2004 ) ข้อมูลจาก WHO Thailand 3

4 สถิติระดับ ประเทศ  กระทรวงสาธารณสุขระบุว่า ข้อมูล ใบมรณบัตรและหนังสือรับรองการตาย ชี้ให้เห็นว่าสถิติสูงขึ้น (ที่มา: ข้อมูลมรณบัตร สำนักนโยบายและ ยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข) 1. Overview ภารกิจด้านความปลอดภัยทางถนน 4 ประเด็น (ต่อ) 1 สภาพปัญหาความปลอดภัยทางถนนของประเทศไทย เพื่อนำไปสู่การแก้ไข ตารางเปรียบเทียบจำนวนผู้เสียชีวิต สธ. ปี 5414,033 ราย ปี 5514,064 ราย ปี 5614,789 ราย 4 1.2 ภาพลักษณ์ของประเทศไทยจากมุมมองนานาชาติ พบว่า การสัญจรทางถนนของประเทศไทยไม่ปลอดภัย โดยประเทศอังกฤษ ออสเตรเลีย และสหรัฐอเมริกา ได้ออกประกาศแจ้งเตือนนักท่องเที่ยวให้ระวังการ เดินทางมายังประเทศไทยเป็นพิเศษ (ที่มา: ไทยรัฐ 25 ก.ค. 2556)

5 1 สภาพปัญหาความปลอดภัยทางถนนของประเทศไทยเพื่อนำไปสู่การแก้ไข (ต่อ)  สภาพชำรุด ขาดป้ายเตือน พฤติกรรม  ขับเร็ว  ดื่มสุรา  ง่วง  สภาพไม่พร้อม มีการดัดแปลง  ความรู้ ความเชื่อ ค่านิยม  ออกแบบ ไม่เหมาะ  ขาดระบบ ตรวจสอบ + การกวดขัน บังคับใช้ กฎหมายอย่าง ต่อเนื่อง คน รถ ถนน สภาพ แวดล้อม ปัจจัย เสี่ยง ก่อให้เกิดอุบัติเหตุทางถนน 5

6 แนวทางการดำเนินงาน  ให้ประเทศสมาชิกมีการ ดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติการ  เป้าหมายลดอัตราการเสียชีวิต จากอุบัติเหตุทางถนนของ ทั้งโลก ร้อยละ 50 ภายใน 10 ปี หรือในปี 2563 2.1 ประกาศ เจตนารมณ์ ปฏิญญามอสโก 2 ความมุ่งมั่นในการแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุตามแนวทางสากล ปฏิญญามอสโก “กำหนด ปี 2554 – 2563 เป็นทศวรรษ แห่งความปลอดภัยทางถนน” หลักการสำคัญ  วางระบบที่เอื้อต่อความปลอดภัย (Safe system)  พัฒนา/ออกแบบระบบการขนส่ง ทางถนนให้มีความปลอดภัย  กำหนดเจ้าภาพหลักรับผิดชอบ  บูรณาการการทำงานร่วมกัน ประกอบด้วย 5 เสาหลักตามองค์การสหประชาชาติ 12 3 45 การบริหารจัดการ Road safety management ถนนและการสัญจร ปลอดภัย Infrastructure ยานพาหนะปลอดภัย Safe vehicle ผู้ใช้ถนนปลอดภัย Road user behavior การตอบสนอง หลังเกิดเหตุ Post crash care 6

7  มติ ครม. เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2553 เห็นชอบให้ “ปี 2554 - 2563 เป็นทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน”  บูรณาการการดำเนินงานจากทุกภาคส่วน โดยมีเป้าหมาย ลดอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนต่ำกว่า 10 คน ต่อประชากรหนึ่งแสนคนในปี 2563  เป็นแนวทางขับเคลื่อนการดำเนินงานทศวรรษแห่งความ ปลอดภัยทางถนน ฯ  ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งระดับนโยบายและระดับปฏิบัติการ ได้ใช้เป็นกรอบแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติการของ หน่วยงานในระยะ 10 ปีข้างหน้า 2.2 ประเทศไทย กำหนดทศวรรษแห่ง ความปลอดภัยทางถนน 2.3 จัดทำแผนที่นำทาง เชิงกลยุทธ์ทศวรรษแห่ง ความปลอดภัยทางถนน 2 ความมุ่งมั่นในการแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุตามแนวทางสากล (ต่อ) 7

8 3.1 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน พ.ศ. 2554 แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ 3 กำหนดกลไกการขับเคลื่อนนโยบายด้านความปลอดภัยทางถนน ระดับนโยบาย ระดับอำนวยการ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการป้องกันและ ลดอุบัติเหตุทางถนน พ.ศ. 2554 ระดับปฏิบัติการ  กำหนดนโยบายในการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุ ทางถนนเพื่อยกระดับความ ปลอดภัยทางถนนของ ประเทศ  อยู่ในความรับผิดชอบของ คณะกรรมการนโยบายการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุ ทางถนนแห่งชาติ (นปถ.)  มีนายกรัฐมนตรี หรือ รองนายกรัฐมนตรีที่ นายกรัฐมนตรีมอบหมาย เป็นประธาน  จัดทำข้อเสนอ นโยบาย แผนแม่บท ยุทธศาสตร์ความปลอดภัยทางถนน ฯลฯ  อยู่ในความรับผิดชอบของ 1) ศูนย์อำนวยการความปลอดภัย ทางถนน (ศปถ.) (มท. 1 เป็นผอ. และประธาน คกก. ศปถ.) 2) ศูนย์อำนวยการความปลอดภัย ทางถนนจังหวัด (ผจว. เป็นผอ. และ ประธาน คกก. ศปถ. จังหวัด) 3) ศูนย์อำนวยการความปลอดภัย ทางถนนกรุงเทพมหานคร (ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นผอ. และประธาน คกก. ศปถ. กทม.)  จัดทำแผนปฏิบัติการ แผนงาน โครงการ และงบประมาณในการ ป้องกันอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่  อยู่ในความรับผิดชอบของ 1) ศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัย ทางถนนอำเภอ (นายอำเภอ เป็นผอ. และ ประธาน คกก. ศปถ. อำเภอ) 2) ศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัย ทางถนนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ผู้บริหาร อปท. เป็นผอ. และประธาน คกก. ศปถ. อปท.) 3) ศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัย ทางถนนเขต (ใช้ดุลยพินิจของผู้ว่า กทม. แต่งตั้ง) 8

9 3.2 ในรูปอนุกรรมการคณะกรรมการ ศปถ. (6 คณะ) ประกอบด้วย 3 กำหนดกลไกการขับเคลื่อนนโยบายด้านความปลอดภัยทางถนน (ต่อ) มีรองปลัด คค.(หน. กลุ่มภารกิจการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ด้านทางหลวง) เป็นประธาน มีองค์ประกอบ 31 คน มีรอง ปลัด มท. (หน. กลุ่มภารกิจด้านสาธารณภัย และพัฒนาเมือง) เป็นประธาน มีองค์ประกอบ 24 คน รองปลัด คค.(หน. กลุ่มภารกิจด้านการขนส่ง) เป็นประธาน มีองค์ประกอบ 24 คน มีรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติที่ได้รับมอบหมาย เป็นประธาน มีองค์ประกอบ 37 คน มีรองปลัดกระทรวงสาธารณสุข (ด้านพัฒนาการแพทย์) เป็นประธาน มีองค์ประกอบ 30 คน มีรองอธิบดีกรมควบคุมโรค เป็นประธาน มีองค์ประกอบ 20 คน 2. คณะอนุกรรมการด้านถนนและการสัญจรอย่างปลอดภัย 3. คณะอนุกรรมการด้านยานพาหนะปลอดภัย 1. คณะอนุกรรมการด้านการบริหารจัดการด้านความปลอดภัยทางถนน 4. คณะอนุกรรมการด้านผู้ใช้รถใช้ถนนอย่างปลอดภัย 5. คณะอนุกรรมการด้านการตอบสนองหลังการเกิดเหตุ 6. คณะอนุกรรมการด้านการบริหารจัดการข้อมูลและ การติดตามประเมินผล 9

10 3 กำหนดกลไกการขับเคลื่อนนโยบายด้านความปลอดภัยทางถนน (ต่อ) 3.3 การจัดทำแผนแม่บทความปลอดภัยทางถนนและแผนปฏิบัติการเพื่อรองรับแผนแม่บท และแผนทศวรรษความปลอดภัยทางถนน ฉบับที่ 1 ช่วงปี 2548 - 2551ฉบับที่ 2 ช่วงปี 2552 - 2555ฉบับที่ 3 ช่วงปี 2556 - 2559  วิสัยทัศน์ “เพื่อพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้นโดย ยกระดับความปลอดภัยทางถนน ของประเทศไทยสู่ มาตรฐานสากล”  ยุทธศาสตร์หลัก 5 ยุทธศาสตร์  วิสัยทัศน์ “บนถนน ทุกชีวิต ปลอดภัยตามมาตรฐานสากล”  ยุทธศาสตร์หลัก 6 ยุทธศาตร์  วิสัยทัศน์ “ร่วมกันสร้างการสัญจร ที่ปลอดภัยตามมาตรฐานสากล”  ยุทธศาสตร์ 4 ยุทธศาสตร์ 1.การบังคับใช้กฎหมาย (Law Enforcement) 2.ด้านวิศวกรรม (Engineering) 3.การให้ความรู้ (Education) 4.การบริการการแพทย์ฉุกเฉิน EMS (Emergency Medical Service System ) 5.การประเมินผลและสารสนเทศ (Evaluation and Information) 1.การปรับนโยบายให้เป็นนโยบาย เร่งด่วนระดับชาติ 2.การสร้างเสถียรภาพในการแก้ไข ปัญหาอย่างยั่งยืน 3.การทำแผนนิติบัญญัติ 4.การป้องกันและแก้ไขปัญหา ความปลอดภัยทางถนนใน ส่วนกลาง 5.การป้องกันและแก้ไขปัญหา ความปลอดภัยทางถนนใน ภูมิภาคและท้องถิ่น 6.วิจัย พัฒนา และติดตา ประเมินผลด้านความปลอดภัย ทางถนน 1.พัฒนาระบบบริหารจัดการด้านความ ปลอดภัยทางถนนสู่ระดับสากล 2.การเสริมสร้างความปลอดภัยแบบมุ่งเป้า 3.ลดความสูญเสียในปัจจัยเสี่ยงหลัก อย่างยั่งยืน 4.เสริมสร้างความปลอดภัยทางถนน ในท้องถิ่นอย่างมีส่วนร่วม คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2558 เห็นชอบแผนแม่บทความปลอดภัย ทางถนน พ.ศ. 2556 - 2559 10

11 3 กำหนดกลไกการขับเคลื่อนนโยบายด้านความปลอดภัยทางถนน (ต่อ) 3.4 การมีส่วนร่วม ภาครัฐ เอกชน สถานประกอบการ ท้องถิ่น ฯ การสร้างกลไก ที่เข้มแข็ง นโยบาย ภาครัฐ องค์ความรู้และ นวัตกรรม การมีส่วนร่วมภาคี เครือข่าย รัฐบาล คณะกรรมการ นโยบาย ศูนย์อำนวยการ ความปลอดภัย ทางถนน (ศปถ.) ศูนย์อำนวยการ ความปลอดภัย ทางถนนจังหวัด พื้นที่ อำเภอ/ตำบล/ ชุมชน รัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ข้อ 5.4 “ป้องกันและแก้ไขปัญหาการ เกิดอุบัติเหตุในการจราจร อันนำไปสู่ การบาดเจ็บและเสียชีวิตโดยการร่วมมือ ระหว่างฝ่ายต่าง ๆ ในการตรวจจับเพื่อ ป้องกันการรายงาน และ การดูแลผู้บาดเจ็บ” หน่วยงาน องค์กร ภาคีต่างๆ การป้องกันและ ลดอุบัติเหตุ ทางถนน 11

12 4 การขับเคลื่อนมาตรการที่เกี่ยวข้องด้านความปลอดภัยทางถนน รัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา แถลงนโยบายต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ข้อ 5.4 “ป้องกันและแก้ไขปัญหาการเกิดอุบัติเหตุในการจราจร อันนำไปสู่ การบาดเจ็บและเสียชีวิตโดยการร่วมมือระหว่างฝ่ายต่าง ๆ ในการตรวจจับ เพื่อป้องกัน การรายงาน และการดูแลผู้บาดเจ็บ” นโยบายเน้นหนักกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 การบูรณาการภาคีเครือข่ายเพื่อขับเคลื่อน “วาระแห่งชาติ ด้านความปลอดภัยทางถนน” ให้เกิดเป็นรูปธรรมอย่างชัดเจน 12 มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2558  รับทราบสรุปบทเรียนจากการดำเนินการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาล ปีใหม่ 2558  เห็นชอบแนวทางการขับเคลื่อนงานด้านความปลอดภัยทางถนนให้เป็นรูปธรรมและชัดเจน

13 13 1. มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2558 รับทราบสรุปบทเรียนจากการดำเนินการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาล ปีใหม่ ๒๕๕๘ และเห็นชอบแนวทางการขับเคลื่อนงานด้านความปลอดภัยทางถนน ให้เป็นรูปธรรมและชัดเจน ดังนี้ 1.1 ปัจจัยสำคัญของการเกิดอุบัติเหตุ คือ พฤติกรรมของผู้ขับขี่ ยานพาหนะ ประกอบด้วย การใช้ความเร็ว การเมาสุราขณะขับขี่ การไม่สวมหมวกนิรภัย ในขณะขับขี่ซ้อนท้าย และจักรยานยนต์ไม่ปลอดภัย 1.2 มาตรการแก้ไขปัญหา (1) บังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวด จริงจัง โดยเฉพาะพฤติกรรมเสี่ยง ความเร็ว เมาแล้วขับ ไม่สวมหมวกนิรภัย และยานพาหนะประเภทจักรยานยนต์ไม่ปลอดภัย (2) การสร้างการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ภาครัฐ เอกชน และประชาชน โดยนำ มาตรการองค์กรและชุมชนมาเสริมการบังคับใช้กฎหมายเพื่อควบคุมพฤติกรรมเสี่ยง (3) การขับเคลื่อนงานอย่างเป็นเอกภาพและทิศทางเดียวกัน โดยยึดพื้นที่ ป็นตัวตั้ง (Area Approach) และให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นเจ้าภาพในการบูรณาการการทำงาน

14 14 2. มติคณะกรรมการศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน ครั้งที่ 1/2558 วันที่ 19 มีนาคม 2558 เห็นชอบแผนบูรณาการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน ช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ. 2558 สรุปสาระสำคัญ ดังนี้ (1) ใช้ชื่อในการรณรงค์ “สติ วินัย น้ำใจ ปลอดภัย สงกรานต์ สืบสานประเพณี” (2) กำหนดช่วงเวลาการรณรงค์ ระหว่างวันที่ 9 – 15 เมษายน 2558 (3) กำหนดเป้าหมายการดำเนินการ เพื่อให้ ประชาชนเดินทางสัญจรอย่างปลอดภัยและ มีความสุขในช่วงเทศกาลสงกรานต์ (4) แนวทางการทำงาน ใช้การบูรณาการกับ ทุกภาคส่วนโดยยึดพื้นที่เป็นตัวตั้ง (Area Approach) (5) ให้มีการจัดตั้งศูนย์อำนวยการป้องกันและ ลดอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลสงกรานต์ ทั้งในส่วนกลาง จังหวัด อำเภอ และท้องถิ่น

15 4 การขับเคลื่อนมาตรการที่เกี่ยวข้องด้านความปลอดภัยทางถนน (ต่อ) มีการรณรงค์ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน ช่วงเทศกาล มาอย่างต่อเนื่อง  เทศกาลสงกรานต์  เทศกาลปีใหม่ 1.มาตรการด้านการบริหารจัดการ 2.มาตรการด้านถนนและการ สัญจรอย่างปลอดภัย 3.มาตรการด้านยานพาหนะ ที่ปลอดภัย 4.มาตรการด้านผู้ใช้รถใช้ถนน อย่างปลอดภัย 5.มาตรการด้านการตอบสนอง หลังเกิดอุบัติเหตุ มาตรการที่กำหนด มาตรการทั่วไป มาตรการเน้นหนัก การบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด ตามมาตรการ 10 มาตรการ ได้แก่ 1. ไม่สวมหมวกนิรภัย 2. มอเตอร์ไซค์ไม่ปลอดภัย 3. เมาสุรา 4. ไม่คาดเข็มขัดนิรภัย 5. ไม่มีใบอนุญาตขับขี่ 6. ขับรถเร็วเกินกว่าที่กฎหมายกำหนด 7. ฝ่าฝืนสัญญาณไฟจราจร 8. ขับรถย้อนศร 9. แซงในที่คับขัน 10. ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ขณะขับรถ นอกจากนี้ เน้นเรื่อง การควบคุม การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และควบคุม การใช้รถจักรยานยนต์เพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในการเกิดอุบัติเหตุทางถนน เป็นต้น 1 15

16 4 การขับเคลื่อนมาตรการที่เกี่ยวข้องด้านความปลอดภัยทางถนน (ต่อ) “ออกพรรษาปลอดภัย ร่วมใจลดอุบัติเหตุ” ช่วง 7 – 9 ตุลาคม 2557 “ลอยกระทงปลอดภัย ร่วมใจลดอุบัติเหตุ” ช่วง 5 – 7 พฤศจิกายน 2557 กำหนดมาตรการ 3 ด้าน 1.มาตรการป้องกัน 2.มาตรการแก้ไขปัญหา 3.มาตรการประชาสัมพันธ์ และการรายงาน (ระบบ e – report) 3 ในปี 2557 มีการรณรงค์นอกเทศกาลปีใหม่ และสงกรานต์ ซึ่งเป็นนโยบาย ของ ศปถ. โดยจัดทำแผนบูรณาการป้องกันและลดอุบัติเหตุ ช่วงเทศกาล ออกพรรษา และ เทศกาลลอยกระทง การจัดงานวันโลกรำลึกถึงผู้สูญเสียจากอุบัติเหตุทางถนน สัปดาห์ที่ 3 ของเดือน พฤศจิกายน ของทุกปี (ปี 2557 ตรงกับวันที่ 16 พ.ย. 57) 2 16

17 4 การขับเคลื่อนมาตรการที่เกี่ยวข้องด้านความปลอดภัยทางถนน (ต่อ) นโยบายที่จะขับเคลื่อนในปี 2558 มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2558 เห็นชอบให้กำหนดปี 2558 เป็นปีแห่งการรณรงค์ 3 เรื่องสำคัญ ดังนี้ 4 17  การลดความเร็วในการขับขี่ยานพาหนะ

18 4 การขับเคลื่อนมาตรการที่เกี่ยวข้องด้านความปลอดภัยทางถนน (ต่อ) 4 18  ความปลอดภัยทางถนนสำหรับเด็ก

19 4 การขับเคลื่อนมาตรการที่เกี่ยวข้องด้านความปลอดภัยทางถนน (ต่อ) 4 19  ส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัย 100 เปอร์เซ็นต์

20 4 การขับเคลื่อนมาตรการที่เกี่ยวข้องด้านความปลอดภัยทางถนน (ต่อ) 5 การขับเคลื่อนนโยบายความปลอดภัยทางถนนเป็นวาระแห่งชาติ 9 ข้อ ซึ่งได้ผ่านความเห็นชอบจาก นปถ. เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2556 ประกอบด้วย 1.ส่งเสริมวัฒนธรรมความปลอดภัยทางถนนให้กับประชาชน โดยเพิ่มการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ทุกช่องทาง รวมทั้ง ขับเคลื่อนผลักดันให้เป็นหลักสูตรของนักเรียน นักศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม 2.ส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัย 3.ลดพฤติกรรมเสี่ยงจากการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แล้วขับขี่ยานพาหนะ 4.แก้ไขปัญหาจุดเสี่ยงจุดอันตราย 5.ปรับพฤติกรรมของผู้ขับขี่ยานพาหนะให้ใช้ความเร็วตามที่กฎหมายกำหนด โดยเฉพาะรถจักรยานยนต์ รถกระบะ รถโดยสารสาธารณะและรถบรรทุก 6.ยกระดับมาตรฐานยานพาหนะให้ปลอดภัย โดยเฉพาะรถจักรยานยนต์ รถกระบะ รถโดยสารสาธารณะ และรถบรรทุก 7.พัฒนาสมรรถนะของผู้ใช้รถใช้ถนนให้มีความปลอดภัย 8.พัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน การรักษาและการฟื้นฟูผู้บาดเจ็บ เพื่อให้ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน การรักษาและการฟื้นฟูผู้บาดเจ็บได้อย่างทั่วถึงและรวดเร็ว และเพิ่มศักยภาพการกู้ภัยในระดับประเทศ และท้องถิ่นให้สูงขึ้น 9.พัฒนาระบบบริหารจัดการความปลอดภัยทางถนนของประเทศไทยให้มีประสิทธิภาพ โดยดึงภาคี เครือข่ายภาคเอกชน และภาคประชาสังคมเข้ามามีส่วนร่วมเพิ่มมากขึ้นในการป้องกันและลดอุบัติเหตุ ทางถนน 20

21 จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt การบรรยาย หัวข้อ “การดำเนินงานตามมาตรการป้องกัน และลดอุบัติเหตุทางถนน” วันที่ 7 เมษายน 2558 ณ วิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ผอ.สำนักบูรณาการสาธารณภัย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google