ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยอภิรักษ์ พันธุเมธา ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
2
แผนงานยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขด้านพัฒนาสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์ปัญหา : ด้าน โครงสร้างประชากร ปัจจุบันประเทศไทย : ( ข้อมูล ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2558 ) - ประชากร รวม = 65.118 ล้านคน - จำานวนผ้สูงอายุ 60 ปีขึนไป = 10.3492 ล้านคน ( คิดเป็น 15.8931 % ของประชากรรวม - จำนวนผ้สูงอายุ 65 ปีขึนไป = 6.9105 ล้านคน ( คิดเป็น 10.6122 % ของประชากรรวม - ตั้งแต่ต้นปี 2558 (1 มกราคม 2558) มีประชากรที่อายุ ครบ 60 ป จานวน 373,050 คน ทมา : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 29 มถนายน 2558 1
3
ป 5 สถานบริการ สุขภาพ ( รพช.) ชุม ชน คลินิก NCD หรือ คลินิกสูงอายุ ชมรม ผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง คัดกรองซึมเศร้าและ ดูแลด้านสังคมจิตใจ ศูนย์สุขภาพจิต สนับสนุน รพ. สต. ให้มีการ ศูนย์สุขภาพจิต สนับสนุน รพ. สต. ให้ มีการจัดกิจกรรม ส่งเสริมสุขภาพจิต และป้องกัน ปัญหา สุขภาพจิตผู้สูงอายุ ( การสร้างสุข 5 มิติ สําหรับ ผู้สูงอายุ ) สถาบัน / รพจ. สนับสนุน รพช. ใหม่การ จัด บริการส่งเสริมสุขภาพจิตและ ป้องกัน ปัญหาสุขภาพจิต ผู้สูงอายุที่มารับบริการ - คัดกรองซึมเศร้าและดูแลทางสังคม จิตใจ - จัดกิจกรรมสูงเสริมสุขภาพจิตและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิตผู้สูงอายุ ( โปรแกรมสร้างสุข 5 มิติสําหรับ ผู้สูงอายุในสถานบริการสุขภาพ ) วัยสูงอายุ ประชาชนวัยสูงอายูมีสุขภาพจิตดี สามารถอยู่ร่วมกัน ในสังคมอย่างมีความสุข - ติดตามเยี่ยมบ้าน ร่วมกับทีมหมอ ครอบครัว
4
กรมสุขภาพจิต วัยสูงอายุ เน้น การคัดกรองผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้า และพัฒนาระบบการดูแลทางสังคมจิตใจ สําหรับผู้สูงอายุใน โรงพยาบาลชุมชน ( คลินิกสูงอายุ / คลินิก NCD) และผู้สูงอายุ ในชุมชน ( ชมรมผู้สูงอายุ / ผู้สูงอายุติด สังคม ติดบ้าน ติดเตียง ) สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุข เพื่อเสริมความเข้มแข็งของระบบการส่งเสริมสุขภาพจิตและ ป้องกันปัญหาสุขภาพจิตผู้สูงอายุ และเพื่อพัฒนาศักยภาพ สมาชิกชมรมผู้สูงอายุในการดูแลช่วยเหลือตนเอง และ ผู้อื่นในชุมชน รวมทั้งทําประโยชน์ให้สังคมโดยเชื่อมโยงกับ ระบบสุขภาพระดับอำเภอ (DHS)
5
ส่งเสริมการป้องกันปัญหาสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ติดบ้าน และติดเตียง ให้ได้รับการ คัดกรองปัญหาสุขภาพจิตและดูแล ด้านสังคมจิตใจ และติดตามเยี่ยมบ้าน ร่วมกับทีมหมอครอบครัว สนับสนุนการป้องกันปัญหาสุขภาพจิตผู้สูงอายุที่มา รับบริการในคลินิก NCD/ คลินิกสูงอายุในโรงพยาบาล ชุมชน ให้ได้รับการคัดกรองปัญหาสุขภาพจิตและ ดูแลด้านสังคมจิตใจ รวมทั้งมีระบบการส่งต่อเพื่อดูแล อย่างต่อเนื่อง
6
SETTING สถานบริการสุขภาพ ( คลินิก NCD หรือคลินิกสูงอายุ ใน รพช.) จากการสำรวจอัตราการใช้บริการที่ OPD ของผู้สูงอายุ ที่เป็นโรคเรื้อรังพบว่า ผู้สูงอายุจะมาใช้บริการที่ OPD โดยเฉลี่ย 4.4 ครั้ง / คน / ปี ( นพ. สัมฤทธิ์ ศรธำรงสวัสดิ์,2556) จึงควรจัด ให้มีบริการส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ผู้สูงอายุที่มารับบริการ มีการคัดกรองโรคซึมเศร้า 2Q ในการ ดำเนินงานคลินิกสูงอายุ / คลินิก NCD มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตและ ป้องกันปัญหาสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ( โปรแกรม สร้าง สุข 5 มิติสำหรับผู้สูงอายุในสถานบริการสุขภาพ )
7
สื่อในการดำเนินกิจกรรมสุขภาพจิต ผู้สูงอายุ
8
แบบคัดกรองโรคซึมเศร้า 2Q แบบประเมินโรคซึมเศร้า 9Q
10
รพ. จิตเวชเน้น - มีแผนการจัดกิจกรรมการส่งเสริม และป้องกันปัญหาสุขภาพจิตผุ้ สูงอายุ ที่คลินิกผู้สูงอายุ / คลินิก NCD - มีระบบขั้นตอน / ผังการไหลในการ ดำเนินกิจกรรมการส่งเสริมและป้องกัน ปัญหาสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ที่คลินิก ผู้สูงอายุ / คลินิก NCD
11
ผังการไหลการให้บริการส่งเสริมสุขภาพจิต ผู้สูงอายุ
12
ผลการดำเนินงานบริการส่งเสริมสุขภาพจิตและ ป้องกันปัญหาสุขภาพจิตแก่ผู้สูงอายุคลินิก NCD หรือ คลินิกผู้สูงอายุในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดชื่อรพช. การคัดกรองด้วย 2Q หรือแบบ ประเมินซึมเศร้าอื่นๆ การช่วยเหลือ จน. ผู้ที่ได้รับ การคัดกรอง จน. ผู้มีผล + VE จน. ที่ส่งต่อไป คลินิก สุขภาพจิต หรือ Psychosocial clinic จน. ผู้ที่ ให้ สุขภาพ จิตศึกษา จน. ผู้ที่ ส่งไปทีม หมอ ครอบครัว เพื่อติดตาม เยี่ยมบ้าน กำแ พงเ พชร บึง สามัคคี
13
13 จบการ นำเสนอ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.