ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยวรรณ สโตเกอร์ ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
1
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ CAI
2
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา สื่อการสอนขาดความน่าสนใจ ผู้เรียนไม่สามารถทบทวนความรู้ได้ด้วยตนเอง ความแตกต่างกันระหว่างบุคคล
3
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 2. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียน
4
ด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย
ขอบเขตของการวิจัย ด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย กลุ่มประชากร กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม
5
ขอบเขตของการวิจัย (ต่อ)
ด้านตัวแปรที่ศึกษา ประกอบด้วย ตัวแปรต้น (Independent Variable) ตัวแปรตาม (Dependent Variable)
6
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
1.ผลการหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวนนักเรียน ค่าคะแนนเฉลี่ย(E1) คะแนนจากแบบทดสอบท้ายบทเรียน ค่าคะแนนเฉลี่ย(E2) คะแนนจากแบบทดสอบ คะแนนเต็ม คะแนนรวมเฉลี่ย ร้อยละ(%) 30 10 8.20 82 20 16.47 82.35
7
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ)
2.ผลการศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของกลุ่มทดลองที่เรียนโดยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน และกลุ่มควบคุมที่เรียนโดยวิธีปกติ คะแนนวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคอมพิวเตอร์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) กลุ่มตัวอย่าง n S.D. t p กลุ่มทดลอง 30 16.47 1.65 7.85** .00** กลุ่มควบคุม 13.17 1.59
8
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ)
3.ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียน โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 การแปลความหมายของคะแนนเฉลี่ย ระดับคะแนนเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมายถึง มีความพอใจมากที่สุด ระดับคะแนนเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถึง มีความพอใจมากที่สุด ระดับคะแนนเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายถึง มีความพอใจมากที่สุด ระดับคะแนนเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถึง มีความพอใจมากที่สุด ระดับคะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.50 หมายถึง มีความพอใจมากที่สุด
9
คะแนนความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง
รายการประเมิน คะแนนความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง S.D. ระดับ 1 เร้าความสนใจ 4.27 0.45 มาก 2 โครงสร้างเนื้อหาชัดเจน 3 ความถูกต้องถามหลักสูตร 4 สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 4.50 0.50 5 ความยากง่ายเหมาะสมกับผู้เรียน 6 ใช้ภาษาถูกต้อง เหมาะสมกับวัยผู้ของเรียน 4.23 0.43 7 สื่อความหมายได้ชัดเจนเหมาะสมกับบริบทของเนื้อหา 4.77 มากที่สุด 8 เนื้อหามีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกัน 3.77 9 มีความยืดหยุ่น สนองความแตกต่างระหว่างบุคคล 4.73 10 ลำดับเนื้อหาและแบบฝึกได้เหมาะสม 4.00 0.00 11 กลยุทธ์การถ่ายทอดเนื้อหาสนใจ 12 กลยุทธ์การประเมินผลเหมาะสม ตรงตามวัตถุประสงค์ 13 ออกแบบหน้าจอเหมาะสม ง่ายต่อใช้ สัดส่วนเหมาะสมสวยงาม 14 ขนาดสี ตัวอักษร ชัดเจน สวยงาม อ่านง่ายเหมาะสมกับผู้เรียน 15 ภาพกราฟิกเหมาะสม ชัดเจน สอดคล้องกับเนื้อหา 16 คุณภาพการใช้เสียงประกอบบทเรียนเหมาะสม ชัดเจนน่าสนใจ 17 การออกแบบปฏิสัมพันธ์ใช้โปรแกรมง่าย สะดวก โต้ตอบกับผู้เรียนอย่างสม่ำเสมอ 18 การให้ผลป้อนกลับ เสริมแรง/ให้ความช่วยเหลือเหมาะสมตามความจำเป็น 3.73 19 มีกิจกรรมที่สามารถตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียน (ที่ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย) 20 ท่านมีความพึงพอใจในภาพรวมต่อบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์อยู่ในระดับใด คะแนนเฉลี่ย 4.24 0.36
10
สรุปผลการวิจัย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพของบทเรียน 82/82.35 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 75/75 1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของกลุ่มทดลองที่เรียนรู้โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสูงกว่ากลุ่มควบคุมที่เรียนด้วยวิธีปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2 ระดับความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สร้างขึ้นมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.24 ซึ่งอยู่ในระดับความพึงพอใจมาก 3
11
เพิ่มเทคนิคในการนำเสนอข้อมูล
ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะ ควรพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ให้รองรับกับระบบปฏิบัติการที่หลากหลายขึ้นเพื่อลดขีดจำกัดทางด้านซอฟต์แวร์ ศึกษาการใช้งานโปรแกรมที่ใช้สร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพิ่มเติมเพื่อ เพิ่มความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น เพิ่มเทคนิคในการนำเสนอข้อมูล
12
ขอบคุณครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.