เซลล์ (Cell).

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

Nickle.
Animal cell.
แมกนีเซียม (Magnesium).
นักโภชนาการน้อย.
เป็นอาหารที่มีคุณค่า
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
คุณสมบัติของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของเซลล์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ My.athiwat.
โครเมี่ยม (Cr).
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์ เนื้อหา 1.1 โครงสร้างร่างกายมนุษย์ 1.2 ระบบอวัยวะ.
ศาสนาคริสต์111
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
สื่อการเรียนรู้เพื่อเพื่อนนักเรียน
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
โรงเรียนธนรัตน์วิทยา
พื้นที่ผิวของพีระมิด
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เซลล์และองค์ประกอบสำคัญของเซลล์
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
โครงสร้างและ หน้าที่ของราก
การรักษาดุลภาพของเซลล์
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
บทที่ 1 อยู่ดีมีสุข.
Nutritional Biochemistry
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์และองค์ประกอบสำคัญของเซลล์
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
ยีน และ โครโมโซม.
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส (meiosis)
โครงสรางพื้นฐานของเซลล
นิวเคลียส (Nucleus) ประกอบด้วย
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
ชีววิทยา นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
ซิสเทมาติกส์ (Systematics)
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
การแบ่งเซลล์ แบบไมโทซิส
ระบบย่อยอาหาร.
การออกแบบและนำเสนอบทเรียน
การสังเคราะห์ด้วยแสง
Structure of Flowering Plant
การแบ่งเซลล์ (CELL DIVISION)
สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
กราฟการเติบโตของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ปัจจัยพื้นฐาน ของพฤติกรรมมนุษย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เซลล์ (Cell)

เซลล์และทฤษฎีของเซลล์

สิ่งมีชีวิตทุกชนิด จะต้องประกอบด้วยเซลล์ และผลิตภัณฑ์ของเซลล์ Prokaryote cell เป็นเซลล์ที่ไม่มีนิวเคลียส ได้แก่ เซลล์แบคทีเรีย สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน  Eukaryote cell เป็นเซลล์ที่มีนิวเคลียส ได้แก่ เซลล์รา , พืช , สัตว์

สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน … Cyanobacteria

เซลล์เยื่อบุข้างแก้ม

องค์ประกอบภายในเซลล์ ได้แก่ 1. Cell wall 2. Cell membrane 3 องค์ประกอบภายในเซลล์ ได้แก่ 1. Cell wall 2. Cell membrane 3. Cytoplasm 4. Nucleus

ทฤษฎีเซลล์ (Cell Theory) โดย Matthias Schleiden และ Theodor Schwann 1. เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด สิ่งมีชีวิตอาจมีเซลล์เดียว หรือหลายเซลล์ก็ได้ ซึ่งภายในเซลล์มีสารพันธุกรรม และกระบวนการเมแทบอลิซึม ทาให้สิ่งมีชีวิตดารงชีวิตอยู่ได้ 2. เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุด ที่มีการจัดระบบ 3. เซลล์กำเนิดมาจากเซลล์เริ่มแรก โดยการแบ่งเซลล์ (แต่เซลล์แรกสุดของโลกนี้ วิวัฒนาการมาจากสิ่งไม่มีชีวิต

โครงสร้างพื้นฐานของเซลล์

1. ผนังเซลล์ (Cell Wall) พืช Cellulose รา Chitin แบคทีเรีย Peptidoglycan สาหร่ายสีน้ำตาล Silica Plasmodesmata

2. เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell Membrane หรือ Plasma Membrane)

เยื่อหุ้มเซลล์ประกอบด้วยสารประเภทโปรตีนประมาณ 60% ลิพิดประมาณ 40% และมีสารอื่นๆ แทรกอยู่ โปรตีนที่แทรกอยู่ตามเยื่อหุ้มเซลล์ทาหน้าที่เป็นช่องให้สารผ่าน (Channel) โปรตีนตัวพา (Carrier) หรือเป็นตัวรับสัญญาณ (Receptor) คอเรสเตอรอล ช่วยสร้างความแข็งแรงให้เยื่อหุ้มเซลล์ และเพิ่มความยืดหยุ่น คาร์โบไฮเดรทที่แทรกอยู่ ช่วยในการติดต่อสื่อสารระหว่างเซลล์

โปรโทพลาซึม (protoplasm)  คือส่วนที่อยู่ภายในเยื่อหุ้มเซลล์ทั้งหมด  ประกอบด้วยไซโทพลาซึมและนิวเคลียส

ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) มีลักษณะเป็นของเหลว ประกอบด้วยสารที่สำคัญปนอยู่ คือ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต และเกลือแร่ต่างๆ รวมทั้งของเสียที่เกิดขึ้น ไซโทพลาซึมเป็นศูนย์กลางการทางานของเซลล์ เกี่ยวกับ เมตาโบลิซึมทั้งกระบวนการสร้างและสลายอินทรียสาร ไซโทพลาซึมประกอบด้วยส่วนประกอบภายในที่อาจเรียกว่า อวัยวะของเซลล์

ร่างแหเอนโดพลาซึม หรือเอนโดพลาสมิกเรติคูลัม

RER มีไรโบโซมเกาะอยู่ ทาหน้าที่สร้างโปรตีน เพื่อส่งออก นอกเซลล์ เช่น เซลล์ ที่ทาหน้าที่ หลั่งเอนไซม์ ฮอร์โมนสารสื่อประสาทแอนติบอดี

ไรโบโซม (Ribosome) ทำหน้าที่สำคัญในการสังเคราะห์โปรตีน เป็นเม็ดๆ ไม่มีเยื่อหุ้ม มี 2 subunit ใน eukaryote จะสร้างไรโบโซม จากในนิวเคลียส ไรโบโซมของ eukaryote เป็นแบบ 80S (60S+40S) ส่วน prokaryote เป็นแบบ70S (50S+30S)

กอลจิคอมเพลกซ์ (golgi complex) หลั่งสารออกนอกเซลล์ด้วยวิธี Exocytosis

ไลโซโซม (lysosome)

แวคิวโอล (vacuole)

ไมโทคอนเดรีย (mitochondria) มีหน้าที่เผาผลาญอาหารเพื่อสร้างพลังงานให้แก่เซลล์ (ATP)

คลอโรพลาสต์ (chloroplast)

พบในเซลล์พืชและสาหร่าย มีหน้าที่ดูดพลังงานแสงเพื่อใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (Photosynthesis) ภายในมีเยื่อพับไปมาเป็นแผ่น เรียกว่า thylakoid membrane หรือ lamella ซึ่งจะมี pigment อยู่ หลายๆแผ่นเรียงเป็นตั้ง เรียกว่า granum หลายๆ granum เรียกว่า grana ของเหลวภายในเรียกว่า stroma

เซนตริโอ (Centriole)

มีหน้าที่เกี่ยวกับการแบ่งเซลล์ โดยการสร้างเส้นใย spindle fiber มาดึงโครโมโซม ให้แยกออกจากกัน ในขั้นตอนการแบ่งเซลล์ โครงสร้างประกอบด้วยหลอด microtubule มารวมตัวกัน การเรียงตัวของ microtubule เป็นแบบ 9+0 บริเวณที่พบเซนตริโอล 2 อัน ตั้งฉากกัน เรียกว่า centrosome เซนตริโอลไม่พบในเซลล์พืช และ fungi

ไซโตสเกเลตอน (cytoskeleton)

นิวเคลียส (Nucleus) นิวเคลียสมีลักษณะค่อนข้างกลม เป็นโครงสร้างของเซลล์ที่เห็นชัดอยู่ในเซลล์ ทาหน้าที่เป็นศูนย์ควบคุมกิจกรรมต่างๆภายในเซลล์ที่ถูกควบคุมโดยคาสั่งจากนิวเคลียส มีส่วนประกอบคือ

1. เยื่อหุ้มนิวเคลียส (Nuclear membrane)

2. Chromatin and Condensed Chromosome Structure