อัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็กอายุ 1 ปี และโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ประเทศไทย : ปี ที่มา: กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน, สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข บาดทะยัก ในเด็กแรกเกิด ไอกรน อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน (%) อัตราป่วยต่อเด็กเกิดมีชีพแสนคน หัด 2556 คอตีบ โปลิโอ 2556
อัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็กอายุ 1 ปี และโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ประเทศไทย : ปี ที่มา: กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน, สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน (%) หัดเยอรมัน ไข้สมองอักเสบ Start JE vaccine in 1991 (17 provinces) 2556 คางทูม ปัญหาที่ต้องรีบแก้ไข วัคซีนครอบคลุมไม่ทั่วถึง โดยเฉพาะประชาชน ในถิ่นทุรกันดาร ชุมชนแออัดและชายแดนใต้ เสี่ยงที่โรคจะระบาด โรคคอตีบเริ่มกลับมาระบาด โรคหัดยังระบาดเป็นระยะ ส่วนใหญ่พบในเด็กเล็ก 0-7 ปี (44%) ปัญหาที่ต้องรีบแก้ไข วัคซีนครอบคลุมไม่ทั่วถึง โดยเฉพาะประชาชน ในถิ่นทุรกันดาร ชุมชนแออัดและชายแดนใต้ เสี่ยงที่โรคจะระบาด โรคคอตีบเริ่มกลับมาระบาด โรคหัดยังระบาดเป็นระยะ ส่วนใหญ่พบในเด็กเล็ก 0-7 ปี (44%)
อัตราป่วยโรคคอตีบและความครอบคลุมของ การได้รับวัคซีนคอตีบครบ 3 ครั้ง ในเด็กอายุครบ 1 ปี : ประเทศไทย พ.ศ อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน ร้อยละ แหล่งที่มา : สำนักระบาดวิทยาและสำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค อัตราป่วย ความครอบคลุม
จำนวนและร้อยละของผู้ป่วยยืนยันและเข้าข่ายโรคคอตีบ ในพื้นที่ที่มีการระบาด จำแนกตามกลุ่มอายุ ปี 2555 กลุ่มอายุ (ปี)จำนวน ( N=48)ร้อยละ ปีขึ้นไป รวม48100 ที่มา : สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
ผู้ป่วยยืนยันโรคคอตีบปี 2556 จังหวัดป่วยเสียชีวิตอายุเดือนที่ป่วย ปัตตานี32< 15 ปีม.ค.-ส.ค. สงขลา40< 15 ปีม.ค.-ก.ค. นราธิวาส31< 15 ปีก.พ.-พ.ค. ตาก10< 15 ปีมิ.ย. ยโสธร10> 15 ปีมิ.ย.-ก.ย. อุดรธานี20> 15 ปีก.ค.-ส.ค. กทม.21 < 15 ปี > 15 ปี ส.ค., ธ.ค. สตูล21< 15 ปีก.ย. เชียงใหม่11< 15 ปีก.ย. ยะลา21< 15 ปีต.ค. รวม217 ข้อมูล ณ วันที่ 21 ม.ค. 57
ผู้ป่วยโรคคอตีบชาวลาวข้ามฝั่งมารักษา ที่ประเทศไทยหลายราย เช่นที่เชียงของ (จังหวัดเชียงราย) ท่าลี่ (จังหวัดเลย) การระบาดในลาวยังมีอยู่ต่อเนื่อง สปป.ลาว สหภาพพม่า ขอรับการสนับสนุน DAT จากไทย ช่องว่างภูมิต้านทานโรค กลุ่มผู้ใหญ่ที่เกิดก่อนหรือ เกิดในช่วงต้นของ EPI เด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนหรือได้รับไม่ครบ พื้นที่ต่างๆที่เสี่ยง Herd immunity ของ Diphtheria = 85 % ความเสี่ยงในการระบาดของโรคคอตีบในประเทศไทย
มาตรการตามระดับพื้นที่ พื้นที่เสี่ยง พื้นที่อื่นๆ พื้นที่รณรงค์ ให้วัคซีน สอบสวน ให้ยา อื่นๆ ระบาด รณรงค์ในเด็ก และผู้ใหญ่ เก็บตกในเด็ก ผู้ป่วย & ผู้สัมผัส (พาหะ) สุขศึกษา NPI เสี่ยง รณรงค์ในเด็ก เก็บตกในเด็ก - สุขศึกษา NPI อื่นๆ เก็บตกในเด็ก- สุขศึกษา NPI
มาตรการดำเนินการในพื้นที่ 1.พื้นที่ระบาด: War room, Early Diagnosis & treatment Contact case management, Mop-Up vaccination ทุกคน, Active surveillance 2.พื้นที่สงสัย: War room, Diagnosis & treatment Contact case management, Mop-Up vaccination เด็กต่ำกว่า 15 ปี และกลุ่มเสี่ยง เช่น ชาวเขา ต่างด้าว 3.พื้นที่เสี่ยง: War room, Diagnosis&treatment, Mop-Up vaccination เด็กต่ำกว่า 15 ปี และกลุ่มเสี่ยง เช่น ชาวเขา ต่างด้าว 4.พื้นที่อื่นๆ: ติดตามสถานการณ์ใกล้ชิด, Diagnosis & treatment, Catch-Up vaccination เด็กต่ำกว่า 12 ปี
สภาวะระดับภูมิคุ้มกัน ต่อโรคคอตีบในประชากรกลุ่มอายุต่าง ๆ
รวม กลุ่มอายุ (ปี) ร้อยละของระดับภูมิคุ้มกันต่อโรคคอตีบ ในประชากร อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น ปี 2554 ร้อยละ
Songkhla Chonburi Phitsanulok Ratchaburi Chiang Mai Nakhon Si Thammarat
ร้อยละของระดับภูมิคุ้มกันต่อโรคคอตีบ ในกลุ่มอายุ ปี ประเทศไทย ปี 2556 Seroconversion IU/mL
ผลการประชุม คณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เมื่อ 28 มกราคม 2556 มีมติ กำหนดให้รณรงค์ใช้วัคซีน dT จำนวน 1 ครั้ง 2.ผู้ใหญ่กลุ่มอายุ ปี 3.การรณรงค์ฯ ให้เน้นในพื้นที่ที่เสี่ยง ต่อการเกิดโรคคอตีบก่อน
1.แจ้งเตือนสสจ. ทั่วประเทศเร่งรัดตรวจสอบประวัติการได้รับ วัคซีนคอตีบแก่เด็กก่อนวัยเรียนและนักเรียน รวมทั้งติดตาม เด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีนหรือได้รับไม่ครบ ให้ได้รับวัคซีน ครบถ้วนตามเกณฑ์ 2. กำหนดให้วัคซีน dT ทดแทน T ในทุกกรณี เช่น หญิงมีครรภ์ กลุ่มผู้มีบาดแผล หน่วยบริการทุกแห่งทั้งภาครัฐและเอกชน ราชวิทยาลัยและสมาคมแพทย์ที่เกี่ยวข้อง ประกันสังคม บริษัทนำเข้าวัคซีน เพื่อปรับแผนการจัดจำหน่ายวัคซีน ในอนาคต มาตรการด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
3. รณรงค์ให้ dT แก่ผู้ใหญ่อายุ ปี 1 ครั้ง เพื่อเร่งให้ภูมิคุ้มกันโรคในชุมชนมีระดับสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว 4. บรรจุการให้ dT กระตุ้นแก่ผู้ใหญ่ทุก 10 ปี ไว้ในตาราง EPI เพื่อกระตุ้นให้ภูมิคุ้มกันคงอยู่ในระดับที่ป้องกันโรค ได้อย่างต่อเนื่อง มาตรการด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (ต่อ)
เป้าหมายตัวชี้วัด 15 โครงการสำคัญ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน dT ในประชากร อายุ ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน MR ในประชากร เด็กอายุ ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 โครงการรณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบและหัด เฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558
มี.ค – เม.ย. 57 ขยายการรณรงค์ dT ภาคอีสาน 19 จังหวัด (~10 ล้านโด๊ส) ขยายการรณรงค์ dT ภาคอีสาน 19 จังหวัด (~10 ล้านโด๊ส) ขยายการรณรงค์ dT ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ รวม 57จังหวัด (~ 18 ล้านโด๊ส) ขยายการรณรงค์ dT ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ รวม 57จังหวัด (~ 18 ล้านโด๊ส) ม.ค. – เม.ย 58 โครงการนำร่อง รณรงค์ dT จ.มุกดาหาร (1.6 แสนโด๊ส) โครงการนำร่อง รณรงค์ dT จ.มุกดาหาร (1.6 แสนโด๊ส) ต.ค. – ธ.ค. 57 โครงการรณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรค คอตีบและหัด เฉลิมพระ เกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีในโอกาสฉลอง พระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 ให้วัคซีน MR ปี ทั่วประเทศ พ.ค. – ก.ย. 58
การให้วัคซีนหัดเพื่อเร่งภูมิคุ้มกันต่อโรคหัด ปี งบ 58 เดิม เดือน เข็มที่ เดือน เข็มที่ 1 7 ปี (ป. 1) เข็มที่ 2 7 ปี (ป. 1) เข็มที่ 2 อายุ สิงหาคม เดือน เข็มที่ เดือน เข็มที่ 1 7 ปี (ป. 1) อายุ 2 ½ ปี เข็มที่ 2 2 ½ ปี เข็มที่ 2 อนาคตยกเลิก พฤษภาคม – กันยายน 2558 ปี 58 ให้วัคซีน MR ประมาณ 3 ล้านคน
Policy & Strategies Preparedness… Prevent avoidable epidemic Detect Threats Early Respond rapidly and effectively How to combat with Communicable Diseases
ขอบคุณ การป้องกัน... แม้เพียงน้อยนิด ในการดูแลรักษา... ย่อมมีคุณค่า... กว่าการทุ่มเทอย่างมากมาย