วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้าและ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบ้าน ข้อ 1 จงพิสูจน์ว่า
Advertisements

หน่วยที่ 10 ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้า
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
บทที่ ๘ ทฤษฎีของนอร์ตัน
หน่วยที่ 13 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
หน่วยที่ 17 เครื่องวัดรูปคลื่นสัญญาณไฟฟ้า 1
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ
การตรวจซ่อม ระบบไฟฟ้า
ที่มีตัวต้านทานไฟฟ้า
หน่วยที่ 10 การขยายย่านวัด
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ย่านวัดแรงดัน ไฟฟ้าของ
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การแก้ปัญหาการใช้ออสซิลโลสโคปวัดสัญญาณไฟฟ้ากระแสสลับของนักเรียน ชั้น ปวช.2 แผนกช่างไฟฟ้ากำลัง โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน และการทดสอบซ้ำ.
หน่วยที่ 5 กฎของโอห์ม.
หน่วยที่ 14 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบไม่มีแกนเหล็ก
หน่วยที่ 2 โครงสร้างโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์
เพาเวอร์ แฟกเตอร์ หน่วยที่ 15 เครื่องวัด เครื่องวัดไฟฟ้า ( )
กำลังไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้า
หน่วยที่ 7 ผลกระทบของแอมมิเตอร์และโวลต์มิเตอร์
หน่วยที่ 1 แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า
RESONANCE CIRCUITS - IMPEDANCE REVIEW
กิจกรรม บ้านพลังงานแสงอาทิตย์
บทที่ 8 เรื่อง เมชเคอร์เรนต์
บทที่ 3 เรื่อง การต่อตัวต้านทาน.
บทที่ 6 เรื่องกฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
บทที่ 7 วงจรไบอัสกระแสตรง
ไฟฟ้าคืออะไร หนังสือวิทยาศาสตร์ หรือเว็บไซต์ต่างๆ ให้ความหมายที่แตกต่างกัน ยกตัวอย่างเช่น - ไฟฟ้า คือ พลังงานรูปหนึ่งที่สามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานรูปอื่นได้
หน่วยที่ 3 กฎของโอห์ม ความสัมพันธ์ระหว่าง กระแสไฟฟ้า ( I ) ความต้านทาน ( R ) และความต่างศักย์ (E, V)
โมเมนต์ของแรง คำถาม  ถ้ามีแรงกระทำต่อวัตถุแล้วทำให้วัตถุหมุน
ครูวัฒนา พุ่มมะลิ (ครูเจ๋ง)
Piyadanai Pachanapan, Power System Engineering, EE&CPE, NU
การวิเคราะห์วงจรสายส่ง Transmission Line Analysis
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
เครื่องวัดแบบชี้ค่าศูนย์
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสตรง DC Indicating Instruments
776 วงจรไฟฟ้า 1 หน่วยที่ 3 แผ่นที่ 3.1/11 กำลังไฟฟ้า
การวัด กำลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า และ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
อันตรกิริยาไฟฟ้า ดร.ณัฐดนัย สิงห์คลีวรรณ.
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
DC Voltmeter.
อิเล็กทรอนิกส์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
Basic Electronics.
Watt Meter.
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
การอนุรักษ์พลังงานในระบบอัดอากาศ
เพื่อพัฒนาพลังงานรองรับวิกฤตการณ์พลังงานของประเทศ
เครื่องมือวัดตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
ฟิสิกส์ ฟิสิกส์ กลุ่มเรียนที่ 1 อาจารย์ผู้สอน อ.ดร. วรินทร ศรีทะวงศ์ ห้องทำงาน ห้อง 545 ชั้น 5 อาคารวิชาการ 2 (C2) โทรศัพท์ (office)
จุดหมุน สมดุลและโมเมนต์
รายวิชา ไมโครโปรเซสเซอร์ในงานอุตสาหกรรม
วงจรข่ายสองทาง (Two Port Network)
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า
Elements of Thermal System
การแข่งขันทักษะวิชาชีพครั้งที่ 31
การวิเคราะห์ฟอลต์แบบไม่สมมาตร Unsymmetrical Fault Analysis
ระบบไฟฟ้าที่มีใช้ในประเทศไทย แบ่งได้ดังนี้
พนักงานขับรถยกด้วยความปลอดภัย
หัวข้อในการบรรยาย 1. จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน 2. เส้นทางความก้าวหน้า 3. องค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินค่างาน 4. ขั้นตอนการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น.
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน โดย
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
Electrical Instruments and Measurements
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
ความหมายและสมบัติของลอการิทึม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้าและ บทที่ 5 เรื่อง วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้าและ วงจรแบ่งกระแสไฟฟ้า

วงจรแบ่งแรงดันเป็นอย่างไร?

วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้าแบ่งออกเป็นกี่ชนิด? 1. วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้าชนิดไม่มีภาระ แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดคือ 2. วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้า ชนิดมีภาระ

1. วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้าชนิดไม่มีภาระ R1 R2 R3 V1 V2 V3 ET IT

2. วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้า ชนิดมีภาระ V1 R1 R3 R2 VL2 RL1 ET V2 VL1 RL2

เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ? วงจรทั้ง 2 วงจร เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ?

1. วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้าชนิดไม่มีภาระ R1 R2 R3 V1 V2 V3 ET IT

1. วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้าชนิดไม่มีภาระ จากสมการกฎของโอห์ม VT = IT x RT และ IT = ET / RT และ RT = R1 + R2 + R3 แทนค่า RT IT = ET / (R1 + R2 + R3)

(ต่อ) แทนค่า IT V1 = ET x R1 (R1 + R2 + R3) หรือ V1 = ET x R1 ( RT ) ในทำนองเดียวกัน V2 = ET x R2

สรุปสูตร วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้าชนิดไม่มีภาระ RX = VX x RX ( ET ) Vx คือค่าแรงดันไฟฟ้าใด ๆ ที่ต้องการแบ่งแรงดันไฟฟ้า (V) ET คือค่าแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งจ่ายไฟฟ้า (V) Rx คือค่าความต้านทานไฟฟ้าใด ๆ ที่ใช้แบ่งแรงดันไฟฟ้า () RT คือค่าความต้านทานไฟฟ้ารวมของวงจรไฟฟ้า (V)

2. วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้า ชนิดมีภาระ V1 R1 R3 R2 VL2 RL1 ET V2 VL1 RL2

2. วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้า ชนิดมีภาระ เมื่อกำหนดให้ RL คือค่าแรงดันไฟฟ้าที่ภาระไฟฟ้า RTL คือค่าความต้านทานรวมของ R3 ขนานกับ RL หรือ RTL = R3 // RL

(ต่อ) จากสมการกฎของโอห์ม VL = IT x RTL และ IT = ET / RT และ RT = R1 + R2 + RTL แทนค่า RT IT = ET / (R1 + R2 + RTL) แทนค่า IT VL = ET x RTL (R1 + R2 + RTL)

สรุปสูตร วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้าชนิดมีภาระ VL = ET x RTL ( RT )

วงจรแบ่งกระแสเป็นอย่างไร? แสดงลักษณะวงจรแบ่งกระแสไฟฟ้าไหล

วงจรแบ่งกระแสไฟฟ้า คือ วงจรไฟฟ้ามีสาขาย่อยเพิ่มขึ้น กระแสไฟฟ้าที่แหล่งจ่ายไฟฟ้าก็จะถูกแบ่งออกเป็นหลาย ๆ ส่วน ตามสาขาย่อยของตัวต้านทานไฟฟ้าที่ต่ออยู่ในวงจรไฟฟ้านั้น

วงจรแบ่งกระแสไฟฟ้า

วงจรแบ่งกระแสไฟฟ้า จากสมการกฎของโอห์ม I1 = ET x R1 ET = IT x RT และ RT = (R1 x R2 ) / (R1 + R2 ) แทนค่า RT ET = IT x (R1 x R2 ) / (R1 + R2 )

(ต่อ) แทนค่า ET I1 = [IT x (R1 x R2 ) / (R1 + R2 )] / R1

สรุปสูตร วงจรแบ่งกระแสไฟฟ้า I1 = IT x (R2) R1 + R2 I2 = IT x (R1) R1 + R2

โรงเรียนฐานเทคโนโลยี โดย แผนก อิเล็กทรอนิกส์ จบการนำเสนอ โรงเรียนฐานเทคโนโลยี โดย แผนก อิเล็กทรอนิกส์