งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ที่มีตัวต้านทานไฟฟ้า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ที่มีตัวต้านทานไฟฟ้า"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ที่มีตัวต้านทานไฟฟ้า
หน่วยที่ 9 วงจรไฟฟ้ากระแสตรง ที่มีตัวต้านทานไฟฟ้า ต่อแบบขนาน

2 วงจรไฟฟ้ากระแสตรงที่มีตัวต้านทานไฟฟ้า ต่อแบบขนาน
R1 E R2 V1 V2 แรงดันไฟฟ้าในวงจรจะเท่ากันหมดหรือไม่ เพราะอะไร ?

3 วงจรไฟฟ้ากระแสตรงที่มีตัวต้านทานไฟฟ้า
ต่อแบบขนาน R1 E R2 A B วงจรที่มีตัวต้านทานไฟฟ้าตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป ต่อขนานเข้าด้วยกันและต่อเข้ากับแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง

4 คุณสมบัติของวงจรไฟฟ้า ที่มีตัวต้านทานไฟฟ้าต่อแบบขนาน
1. แรงดันไฟฟ้ามีค่าเท่ากันหมด R1 E R2 V1 V2 ET = V1=V2=…=VN

5 IT = I1+I2+…+IN 2. ผลรวมของกระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจรย่อย
มีค่าเท่ากับกระแสไฟฟ้าทั้งหมดของวงจร IT I2 R1 R2 A B C E D F I1 IT I1 I1 I2 I2 IT = I1+I2+…+IN

6 กระแสน้ำที่ไหลผ่านท่อประปา
A B C E D F ปริมาณน้ำ ที่ 1 ที่ 2 ท่อน้ำ ทั้งหมด ปั๊มน้ำ P

7 กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านในวงจรขนาน
ปริมาณกระแส ที่ 1 ที่ 2 E A B C D F ปริมาณกระแสไฟฟ้า ที่ไหลทั้งหมด แหล่งจ่าย

8 = + gh R1 R2 R3 … RN 1 1 1 1 RT R1 R2 RN RT=RAB R1 R2
3. ความต้านทานทั้งหมดของวงจรมีค่าเท่ากับส่วนกลับของความต้านทานแต่ละตัวในวงจรรวมกันแบบเศษส่วน R1 R2 จุด A จุด B RT=RAB gh R1 R2 R3 … RN RT R1 R RN + = ...

9 PT = P1+P2+…+PN R1 P1 R2 P2 E 4. กำลังไฟฟ้าทั้งหมดของวงจร มีค่าเท่ากับ
กำลังไฟฟ้าของตัวต้านทานไฟฟ้าแต่ละตัว ในวงจรรวมกัน R1 R2 E P1 P2 PT = P1+P2+…+PN

10 คุณสมบัติของวงจรไฟฟ้ากระแสตรงที่มีตัวต้านทานไฟฟ้าต่อแบบอนุกรมและต่อแบบขนาน เหมือน หรือ แตกต่างกันอย่างไรบ้าง

11 วงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม วงจรไฟฟ้าแบบขนาน E=V1+V2+...+VN E = V1=V2=...=VN
ตารางเปรียบเทียบคุณสมบัติ ของ วงจรไฟฟ้ากระแสตรงที่มีตัวต้านทานไฟฟ้า ต่อแบบอนุกรมและต่อแบบขนาน วงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม วงจรไฟฟ้าแบบขนาน E=V1+V2+...+VN E = V1=V2=...=VN IT= I1=I2=...=IN IT= I1+I2+...+IN RT=R1+R2+... RN RT=1/(G1+G2...+G2 ) PT=P1+P2+... PN


ดาวน์โหลด ppt ที่มีตัวต้านทานไฟฟ้า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google