วันที่ 26 มกราคม 2556 เวลา น. งานระบาดวิทยาอำเภอท่าอุเทน ได้รับแจ้งจากงานห้องอุบัติเหตุและ ฉุกเฉิน โรงพยาบาลท่าอุเทน มีนักเรียน โรงเรียนแห่งหนึ่ง ป่วยด้วยอาการ คลื่นไส้ อาเจียน เข้ารับการรักษา จำนวน 13 ราย ทีม SRRT อำเภอท่าอุ เทนและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลที่รับผิดชอบพื้นที่ ได้ออก สอบสวนโรค ในวันที่ 26 – 27 มกราคม 2558
1. เพื่อยืนยันการวินิจฉัยและการ ระบาดของโรค 2. เพื่อศึกษาลักษณะทางระบาด วิทยาของโรค 3. เพื่อหาสาเหตุและปัจจัยการ ระบาด 4. เพื่อหาแนวทางในการควบคุมและ ป้องกันการเกิดโรค
1. ศึกษาระบาดวิทยาเชิง พรรณนา 2. ศึกษาระบาดวิทยาเชิง วิเคราะห์ 3. ตรวจวิเคราะห์ทาง ห้องปฏิบัติการ 4. ศึกษาข้อมูลทาง สิ่งแวดล้อม
สถิติที่เชิงอนุมาน - รูปแบบการศึกษา “Retrospective cohort study” - สถิติที่ใช้ “Relative Risk:RR” ที่ ระดับความเชื่อมั่น 95 % CI
ข้อมูลทั่วไปและสถานการณ์ โรค
ผลการศึกษาเชิง พรรณนา
อัตราป่วยด้วยโรคอาหารเป็นพิษในโรงเรียน อำเภอท่า อุเทน จังหวัดนครพนม แยกตามกลุ่มอายุ
อาการผู้ป่วยอาหารเป็นพิษในโรงเรียน อำเภอท่าอุเทน จังหวัด นครพนม วันที่ 26 มกราคม 2558
ระยะฟักตัว - เฉลี่ย 2 ชม. 30 นาที - Min 1 ชม.30 นาที - Max 4 ชม.30 นาที
จำนวนและร้อยละผู้ป่วยอาหารเป็นพิษในโรงเรียน อำเภอท่า อุเทน จังหวัดนครพนม ที่รับประทานอาหารแต่ละชนิด ใน วันที่ 26 มกราคม 2558
ตัวอย่า งที่ ชนิด ตัวอย่าง แหล่งเก็บผลการตรวจ 1 ข้าวผัดอาหารที่ เหลือ ไม่พบเชื้อ 2 ส้มจีนอาหารที่ เหลือ ไม่พบเชื้อ 3 อาเจียนจากผู้ป่วยตรวจไม่ได้ 4 ผู้ปรุง อาหาร Rectal swab ไม่พบเชื้อ 5 ผู้ปรุง อาหาร Rectal swab ไม่พบเชื้อ 6 ผู้ป่วย 13 คน Rectal swab ไม่พบเชื้อ
* การทำลายแหล่งรังโรค * การค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติมและรักษาผู้มีอาการโรคอาหาร เป็นพิษ * การให้สุขศึกษากับครู นักเรียน ประชาชน ผู้สัมผัส อาหาร ผู้ป่วย ในเรื่องการป้องกันโรค หลักสุขาภิบาล อาหารและสุขอนามัยส่วนบุคคล เน้นการล้างมือให้ สะอาด ก่อนการปรุงอาหาร ก่อนรับประทานอาหาร และหลังจากขับถ่ายในห้องน้ำ * เน้นมาตรการ “ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ” ผ่าน ทางหอกระจายข่าวสารประจำหมู่บ้าน และโรงเรียน โดยเฉพาะการประกอบอาหารในโรงเรียน * ทีมสอบสวนโรคและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำ หมู่บ้าน เฝ้าระวังโรค ประชาสัมพันธ์และค้นหาผู้ป่วยเชิง รุกในชุมชนทุกหมู่บ้าน * การเก็บวัตถุตัวอย่างส่งตรวจ ทั้งอาหารที่สงสัยและ ตรวจหาเชื้อโรค 20
อัตราส่วนเพศชายต่อเพศหญิง เท่ากับ 1.05 กลุ่มอายุส่วนใหญ่ 8-10 ปี อาจจะเนื่องมาจากการ รับประทานอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อมากกว่ากลุ่มอื่น อาการและอาการแสดงทางคลินิกผู้ป่วย และ ระยะฟักตัวเฉลี่ย เข้าได้กับอาการของโรคอาหาร เป็นพิษ จากเชื้อ Staphylococcus aureus ข้าวผัดเป็นอาหารมีโอกาสเสี่ยงเป็นสาเหตุของโรค มากที่สุด ซึ่งมีค่า RR = Undefined โดยที่ไม่มีผู้ที่กิน ข้าวผัดแล้วไม่ป่วยเลย และผู้ที่ไม่กินข้าวผัดก็ไม่มีคน ป่วย จึงเป็นการสนับสนุนว่าข้าวผัดน่าจะเป็นสาเหตุ ของการระบาดของโรคอาหารเป็นพิษครั้งนี้อาจเกิด การปนเปื้อนเชื้อระหว่างการจัดเตรียมวัตถุดิบและการ ปรุงประกอบอาหารและไม่อุ่นก่อนรับประทาน
พบผู้ป่วย 39 ราย ในโรงเรียน กลุ่มอายุส่วนใหญ่อยู่ ระหว่าง 8-10 ปี เฉลี่ย 9 ปี ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน ร้อยละ 100 รองลงมาคืออาการปวดศีรษะ ปวดท้อง ร้อยละ และมี ถ่ายเหลวร้อยละ 5.12 ระยะฟักตัวเฉลี่ย 2 ชั่วโมง 30 นาที เป็นการ ระบาดแบบแหล่งโรคร่วม ข้าวผัด มีโอกาสเสี่ยงสูงที่สุดที่จะทำให้เกิดการ ระบาดในครั้งนี้ ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการตัวอย่างอาหาร rectal swab ไม่พบเชื้อ ก่อโรค มาตรการที่ใช้ คือ มาตรการ “ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ”
ขอขอบพระคุณ - ผู้อำนวยการโรงพยาบาลท่าอุ เทน - เจ้าหน้าที่ รพ. สต. หาดกวน - เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลท่าอุเทน - ผู้อำนวยการโรงเรียนและคณะ ครู - อาสาสมัครสาธารณสุขประจำ หมู่บ้าน - ผู้ป่วย ญาติผู้ป่วย และผู้นำ ชุมชน ตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องในการ สอบสวนโรคในครั้งนี้