LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11 วันพฤหัสบดีที่ 22 ก. ค โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11 วันพฤหัสบดีที่ 22 ก. ค. 2553
ประเด็น เนื้อหา : ทบทวนเรื่องเดิม : แนวคิดในการคำนวณ ต้นทุนผลผลิต, วัตถุประสงค์ และ ประโยชน์ที่ได้รับ การดำเนินการเกี่ยวกับต้นทุนผลผลิตของ สชป.11 ตามบันทึกกองการเงินและบัญชี วันที่ 15 ก. ค การคำนวณต้นทุนผลผลิตกิจกรรมย่อย ระดับโครงการ ( หลักการ )
แนวคิดในการคำนวณต้นทุนผลผลิต 1 ให้สำนัก / กอง มีกิจกรรมย่อยซึ่งทำให้ เกิดผลผลิตย่อย สามารถจับกลุ่มเข้า กิจกรรมหลักและผลผลิตหลักได้ 2 ให้สำนัก / กอง จัดทำข้อมูลต้นทุนและการ รายงานต้นทุน โดยจัดทำถึงระดับโครงการ 3 การคำนวณต้นทุนผลผลิต จะทำการแยก ต้นทุนรวม (Full Cost) ของกรมฯ เข้าสู่ สำนัก / กอง ( Cost Center) ซึ่งสามารถ เชื่อมโยงไปสู่ผลผลิตหลัก (Output) โดย ผ่านกิจกรรมย่อย (Activities) ที่แต่ละ สำนัก / กอง
วิธีการจัดทำต้นทุนผลผลิตในปีงบประมาณ พ. ศ.2553 เงินเดือน งบดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของพระราชกฤษฏี กาว่าด้วย “ หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี พ. ศ.2546” (Good Governance) ที่กำหนดให้ส่วนราชการจัดทำบัญชีต้นทุนและ รายจ่ายต่อหน่วยของงานบริการสาธารณะ เพื่อ เปรียบเทียบมูลค่าที่คิดเป็นตัวเงินได้ระหว่างปัจจัย นำเข้ากับผลผลิตที่เกิดขึ้น ซึ่งจะเป็นการกระตุ้น ให้ส่วนราชการเกิดการแข่งขันด้านต้นทุนต่อ หน่วยผลผลิตในงานบริการสาธารณะที่เหมือนกัน ภายใต้คุณภาพเดียวกัน 2. เพื่อเป็นข้อมูลทางการเงินประกอบการตัดสินใจ ของผู้บริหาร ในการบริหาร จัดการงาน
วัตถุประสงค์ 3. เพื่อความรับผิดชอบต่อสาธารณะ (Accountability) 4. เพื่อเป็นข้อมูลในการวัดผลการดำเนินงาน การ วางแผนและการควบคุมทางการเงิน ต่อการวางแผนการใช้จ่ายเงินของส่วนราชการใน ปัจจุบันอย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อประกอบการพิจารณาของบประจำปี
ประโยชน์ที่ ได้รับ 1. ทราบถึงประสิทธิภาพใน กระบวนการปฏิบัติงาน 2. สร้างความเข้าใจในความสัมพันธ์ระหว่าง กิจกรรมต่างๆในการสร้างผลผลิตของ หน่วยงาน 3. ได้รับข้อมูลการจัดสรรงบประมาณที่ ยุติธรรม และเสมอภาค 4. มีข้อมูลช่วยในการตัดสินใจในเรื่องการ จัดสรรและการจัดการทรัพยากร 5. มีข้อมูลใช้สำหรับกำหนดราคา ผลผลิตของหน่วยงาน 6. ทำให้การสนับสนุนค่าใช้จ่ายในหน่วยงาน มีความโปร่งใสมากขึ้น
ประโยชน์ที่ ได้รับ 7. ใช้เป็นฐานข้อมูลและการ วิเคราะห์แนวโน้มค่าใช้จ่าย 8. เป็นข้อมูลค่าใช้จ่ายระดับกิจกรรมย่อย ผลผลิต ย่อย กิจกรรมหลัก และผลผลิตหลัก อันจะนำไปใช้ในการกำหนดราคาในการจัดซื้อ บริการ หรือขายบริการ ในอนาคต 9. การพิจารณางบประมาณของส่วนราชการ เป็นไปอย่างมีระบบ สอดคล้องกับ ทรัพยากร กิจกรรมและเป้าหมาย 10. การจัดทำงบประมาณมีประสิทธิภาพ สามารถจัดทำได้ในเวลารวดเร็ว เป็น เหตุเป็นผล 11. สามารถเชื่อมโยงระบบงบประมาณเข้ากับแผนยุทธศาสตร์ได้ทุกระดับ
ประโยชน์ที่ ได้รับ 12. เป็นข้อมูลในการตัดสินใจของผู้บริหารเกี่ยวกับ การกำหนดราคาและค่าธรรมเนียม การจัดสรรงบประมาณได้ครอบคลุมต้นทุน ณ ระดับปริมาณ คุณภาพและเวลาที่กำหนด การเปรียบเทียบผลการดำเนินงานที่ไม่ใช่ ต้นทุน ( ปริมาณ คุณภาพและเวลา ) กับผล การดำเนินงานด้านต้นทุน การประเมินเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ในการ นำส่งผลผลิต (Strategic Delivery Target : SDT) การเปรียบเทียบต้นทุนของกิจกรรมย่อย ผลผลิตย่อย กิจกรรมหลักหรือผลผลิตหลัก ที่ คล้ายคลึงกัน (Benchmarking)
ประโยชน์ที่ได้รับ ( เป็นไป ได้ ) การเปรียบเทียบต้นทุน ของกิจกรรมย่อย ผลผลิต ย่อย กิจกรรมหลักหรือ ผลผลิตหลัก ของ หน่วยงานเองในแต่ละ ปีงบประมาณ จัดทำแผนเพิ่ม ประสิทธิภาพของ หน่วยงาน