การวัด Measurement.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้วิจัยโดย นางสาวกุลธิดา มีสัตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญภิวัฒน์
Advertisements

การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การเขียนโครงร่างวิจัย
สภาพปัญหา / สาเหตุของปัญหา กระบวนการวางแผน/แนวทางการพัฒนา
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
แบบสอบถาม (Questionnaire)
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ลิ้มปองทรัพย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ เลขที่ 2 ถนนมหาราช แขวง พระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณลักษณะ.
ข้อมูลและประเภทของข้อมูล
ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานประกอบการต่อการฝึกงานของนักศึกษา ระดับปวส
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ความรู้พื้นฐานทางสถิติ
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
Population and sampling
ผู้วิจัย สิริภิญญ์ อินทรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ ปีการศึกษา 2556
การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง
กระบวนการของการอธิบาย
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุไทย 2547
รูปแบบการเขียนบทที่ 3.
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
แนวคิดเกี่ยวกับการวัด
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
เครื่องมือทางภูมิศาตร์
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (Life and Environment)
Instruction design แผนจัดการเรียนรู้ Active Learning
การจัดการข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้ของเครื่องมือวัด
การวิเคราะห์งาน.
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
Legal Culture วัฒนธรรมทางกฎหมาย
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
ระเบียบวิธีการศึกษาคติชนวิทยา
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
Miniresearch งานผู้ป่วยนอก.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
วิธีการแก้ปัญหาการอธิบายกลไกลการทำงานเกียร์ขับเคลื่อนล้อหลัง 5 สปีด
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวัด Measurement

การวัด (Measurement) คือกระบวนการที่แปลงสภาพแนวคิดหรือตัวแปรที่ต้องการเก็บข้อมูล โดยให้ตัวเลขเกี่ยวกับสิ่งที่วัด เหตุการณ์ หรือตัวบุคคลตามที่กำหนด เช่น การนับจำนวนผู้มารับบริการตรวจโรคในแผนกผู้ป่วยนอก จำแนกตาม เพศ, อายุ, โรคที่เป็น, บริการที่ได้รับ

ตัวแปร (Variables) คือคุณสมบัติ หรือคุณลักษณะของหน่วยที่ผู้วิจัยสนใจศึกษา การวัดแต่ละครั้งจะต้องพิจารณาว่าตัวแปรที่ศึกษาคืออะไร มีจำนวนมากน้อยเท่าใด ชนิดของตัวแปรเป็นแบบใด เพื่อทำให้สามารถเลือกเครื่องมือที่เหมาะสมครอบคลุมตรงตามวัตถุประสงค์ขอการศึกษาวิจัย ผลการวัดชนิดแข็ง (Hard Outcome) มีคุณสมบัติเป็นรูปธรรม วัดง่าย ไม่ยุ่งยาก เช่น อายุ, ความดันโลหิต, เพศ, ความตาย ผลการวัดชนิดอ่อน (Soft Outcome) วัดออกมาเป็นรูปธรรมได้ยาก เช่น ความเจ็บปวด, ความวิตกกังวล, คุณภาพชีวิต

ระดับของการวัด การวัดแบบกลุ่ม (Nominal Scale) การวัดแบบอันดับ (Ordinal Scale) การวัดแบบช่วง (Interval Scale) การวัดอัตราส่วน (Ratio Scale)

การเลือกเครื่องมือวัดทางสุขภาพ พิจารณาจาก คำถามในการศึกษาวิจัย วัตถุประสงค์ของการวัด ตัวแปรในการศึกษา ประชากรและกลุ้มตัวอย่างในการศึกษา คุณประโยชน์และข้อจำกัดของเครื่องมือ และเลือกเครื่องมือวัดที่เหมาะสม

ชนิดของเครื่องมือวัด การตรวจร่างกาย การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจทางรังสี การตรวจโดยใช้เครื่องมือทางการแพทย์ชนิดต่างๆ การใช้แบบสอบถาม การสร้างมาตรวัด การสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม การศึกษาเฉพาะราย

การวัดข้อมูลเชิงปริมาณ Quantitative Study คือการวัดปรากฏการณ์ตัวแปรในการศึกษาออกมาในรูปของจำนวน ใช้ข้อมูลที่เป็นตัวเลข เป็นหลักฐานยืนยันการวัด สรุปความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร

การวัดข้อมูลเชิงคุณภาพ Qualitative Study การสังเกต (Observation) การสัมภาษณ์ในทางลึก (In – depth Interview) การสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) การศึกษาเฉพาะราย (Case Study / Life History Collection)

ความถูกต้องของการวัด ความถูกต้องในเนื้อหา (Content Validity) ความถูกต้องในทัศนะของผู้เกี่ยวข้อง (Face Validity) ความถูกต้องของการวัดที่สามารถอธิบายด้วยเหตุผมประกอบ (Construct Validity) ความถูกต้องของการวัดโดยเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน (Criterion Validity)

ความเชื่อถือได้ของการวัด Reliability คือการวัดที่ผลการวัดมีความสอดคล้องเหมือนกัน มีค่าใกล้เคียงกัน ซึ่งอาจจะวัดโดยคน ๆ เดียวหลาย ๆ ครั้ง หรือทำโดยคนหลาย ๆ คนในครั้งเดียว การวัดความเชื่อถือได้ที่ใช้กันทั่วไป คือ วิธีการวัดความสอดคล้องภายใน เพื่อดูเนื้อหาของมาตรวัดมีความสอดคล้องไปในเรื่องเดียวกัน และวิธีการวัดความคงที่ของเครื่องมือ โดยวิธีการวัดซ้ำ หรือทดสอบซ้ำ

ความเชื่อถือได้ของการวัด Reliability องค์ประกอบที่สำคัญของการวัด ผู้วัด ผู้ถูกวัด เครื่องมือวัด สภาวะแวดล้อม อคติในการวัด (Biases)

อคติในการวัด (Biases) หมายถึง ความคลาดเคลื่อนของการวัดที่ค่าของ การวัดไม่ตรงกับความจริง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท อคติที่เกิดจากการสุ่มตัวอย่างในการศึกษาวิจัย (Sampling Bias) อคติที่เกิดจากการวัด (Measurement Bias)