หลักการออกแบบฐานข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รูปแบบที่เป็นบรรทัดฐาน (Normal Form)
Advertisements

Chapter3 : Data Model Class on 23 and 24 Nov 10
แบบจำลองฐานข้อมูล คือ เครื่องมือในเชิงแนวคิดที่ใช้ในการอธิบาย ข้อมูล
การใช้งานโปรแกรม SPSS
Entity-Relationship Model E-R Model
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
1. Select query ใช้สำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ
ความหมายของโครงงาน (Project Approach) คือ กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนและผู้ที่จะศึกษาได้ทำการศึกษาค้นคว้าและฝึกปฏิบัติด้วยตนเองตามความสามารถ ความถนัด.
Database Management System
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
บทที่ 1 ความหมายและแนวคิดของการวิจัยการตลาด
DATABASE RELATIONAL MODEL ER DIAGRAM.
ระบบ ฐานข้อมูล (Database). ระบบฐานข้อมูล หมายถึง โครงสร้างสารสนเทศที่ประกอบด้วย รายละเอียดของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันที่ จะนำมาใช้ในระบบต่าง ๆ ร่วมกัน ระบบฐานข้อมูล.
กองกำลังพลกองทัพภาคที่ ๓ แผนกจัดการ กำลังพล แผนก ปกครอง แผนก งบประมาณ แผนก การศึกษา แผนก สวัสดิการ แผนกธุรการ แผนก สารสนเทศ ฝกพ. ศ ปก. ทภ. ๓.
กลุ่ม การจัดการความรู้ ช่างอากาศ (KM) หน่วยงาน ฝ่ายการช่าง ฝูงบิน 461 กองบิน 46 คำขวัญ “ มุ่งหน้าแก้ไขข้อขัดข้อง เพื่อตอบสนองภารกิจ ”
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
Microsoft Access 2007 ทำความรู้จักและใช้งาน. รู้จักกับฐานข้อมูล (Database) ฐานข้อมูล (Data base) คือ ? Bit Byte Field/Word Record Table/File.
CHAPTER 11 Database Design. 2 PHP ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Agenda Data Organization Relational Database Entity,
การออกแบบโครงสร้างข้อมูล การออกแบบโครงสร้างข้อมูล หมายถึง กรณีสร้างตารางใหม่ด้วย ออกแบบตาราง (Table Design) เพื่อต้องการกำหนด โครงสร้างด้วยตนเอง โดยมีขั้นตอนการ.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
Entity-Relationship Model
บทที่ 2 นอร์มัลไลเซชัน normalization
การทำ Normalization 14/11/61.
หลักการลดรูปฟังก์ชันตรรกให้ง่าย
โดย อ.อภิพงศ์ ปิงยศ รายวิชา สธ312 ระบบการจัดการฐานข้อมูลทางธุรกิจ
บทที่ 4 แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ Relational Database
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
บทที่ 11 การเขียนแผนผังข้อมูลแบบสัมพัทธ์.
การจัดการระบบฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูล
ห้องแลปการคิดสร้างสรรค์
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
Chapter 4 : ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
บทที่ 5 การควบคุมความถูกต้องให้กับข้อมูล (Data Integrity)
โดย อ.พัฒนพงษ์ โพธิปัสสา
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
Chapter 6 Information System Development
Entity – Relationship Model
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
การสร้างฟอร์มย่อย การสร้างฟอร์มย่อยและรายงานย่อย
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน
CIT2205 โปรแกรมประยุกต์ด้านการจัดการฐานข้อมูล
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
ผ.ศ.เสาวลักษณ์ สุขประเสริฐ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
หน่วยที่ 3 การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
Application of Software Package in Office
SMS News Distribute Service
ทำความรู้จักและใช้งาน
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
วิธีการสุ่มตัวอย่าง วิธีการสุ่มตัวอย่างมี 2 วิธี
ใน 20 ก.พ.61 ณ ห้องประชุม ยศ.ทร. ชั้น 2
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
การแก้ไขข้อมูล ความสัมพันธ์ระหว่างตาราง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์
ลักษณะภาษาบาลีสันสกฤตเทียบกับภาษาไทย
มาตรฐานการสอบทาน รหัส 2400 (ปรับปรุง)
สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล
Introduction to Database System
สรุปขั้นตอนการสร้าง E-R Diagram
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ตัวแบบข้อมูล (Data Modeling)
การวิเคราะห์ความต้องการ
Chapter 7 : ขั้นตอนการแปลงแผนภาพ ER มาเป็นรีเลชั่น ( ER-to-Relational Mapping Algorithm ) อ.คเชนทร์ ซ่อนกลิ่น.
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
Database Design & Development
Class Diagram.
พื้นฐานการมองแบบภาพ 2D 3D
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการออกแบบฐานข้อมูล (Data Design Concept) โดย อ.พัฒนพงษ์ โพธิปัสสา

1. ขั้นตอนการออกแบบฐานข้อมูล : 1.1 รวบรวมความต้องการของผู้ใช้ 1.2 วิเคราะห์ 1.3 สร้าง ER Model 1.4 เปลี่ยน ER Diagram เป็นโครงสร้างแบบ Relation 1.5 ทำการ Normalization http://demo4.rc.ac.th/chap8_p2/chap8_p2.html http://seedlife.htc.ac.th/npt/work/view.php?id=7 9&sj=%A1%D2%C3%C7%D4%E0%A4%C3%D2%D0%CB%EC%E1%C5%D0%CD%CD%A1%E1%BA%BA%C3%D0%BA%BA&id_sst=10&name=%A1%D2%C3%CA%C3%E9%D2%A7%E2%C1%E0%B4%C5%A4%C7%D2%C1%CA%D1%C1%BE%D1%B9%B8%EC%C3%D0%CB%C7%E8%D2%A7%A2%E9%CD%C1%D9%C5:%20ER-DIAGRAM&id_sj=3901-2115

2. Data Analysis : - สำรวจระบบงาน ในงานนั้นมีข้อมูลอะไรบ้าง ใครเกี่ยวข้อง สารสนเทศที่ได้จากข้อมูลคืออะไร?

3. การสร้าง ER Diagram : ประกอบไปด้วย : กำหนดเอนทิตี้ (Entity) กำหนดแอตตริบิ้วต์ (Attribute) ให้แต่ละเอนทิตี้ กำหนดความสัมพันธ์ (Relationship) ระหว่างเอนทิตี้

4. วิธีการแปลง ER : ประกอบไปด้วย : วิธีการแปลงเอนติตี้ที่ประกอบด้วยแอททริบิวท์ชนิดปกติ วิธีการแปลงเอนติตี้ที่ประกอบด้วยแอททริบิวท์ชนิดกลุ่ม  วิธีการแปลง ER ที่มีความสัมพันธ์แบบ 1:1 วิธีการแปลง ER ที่มีความสัมพันธ์แบบ 1:M วิธีการแปลง ER ที่มีความสัมพันธ์แบบ M : N

5. การแปลงเอนทิตี้ที่ประกอบไปด้วยแอททริบิวต์ชนิดปกติ : วิธีการแปลงเอนติตี้ที่ประกอบด้วยแอททริบิวท์ชนิดปกติ ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นการแปลงเอนติตี้วิชา ให้เป็นรีเลชัน(ตาราง)วิชา  ซึ่งเป็นการแปลงในกรณีที่มีแอททริบิวท์ชนิดปกติ

6. การแปลงเอนทิตี้ที่ประกอบไปด้วยแอททริบิวต์ชนิดกลุ่ม : วิธีการแปลงเอนติตี้ที่ประกอบด้วยแอททริบิวท์ชนิดกลุ่ม ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นการแปลงเอนติตี้นักศึกษา ให้เป็นรีเลชัน(ตาราง)นักศึกษา  ซึ่งเป็นการแปลงในกรณีที่มีแอททริบิวท์ชนิดกลุ่ม

7. การแปลง ER ที่มีความสัมพันธ์แบบ 1:1                                                              วิธีการแปลง ER ที่มีความสัมพันธ์แบบ 1:1 ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นการแปลงเอนติตี้นักศึกษา ให้เป็นรีเลชัน(ตาราง)นักศึกษา  ซึ่งเป็นการแปลงในกรณีที่มีแอททริบิวท์ชนิดกลุ่ม

7. การแปลง ER ที่มีความสัมพันธ์แบบ 1:1 (cont.)                                                              7. การแปลง ER ที่มีความสัมพันธ์แบบ 1:1 (cont.)                     การแปลงเป็นตารางนั้นจะต้องนำคีย์หลัก (primary key : pk) ของตารางหนึ่งไปเป็นคีย์นอก (foreign key : fk) ของอีกตารางหนึ่งเพื่อให้ตารางทั้งสองมีความสัมพันธ์กัน   จากตัวอย่างข้างต้นแปลงแล้วได้ดังรูปต่อไปนี้

8. การแปลง ER ที่มีความสัมพันธ์แบบ 1:M                                                              ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นภาพ ER Diagram ทีมีความสัมพันธ์ระหว่างเอนติตี้แผนกกับเอนติตี้พนักงานเป็นแบบ 1: M เมื่อแปลง ER แบบ 1: M ให้เป็นตารางแล้ว  ให้นำคีย์หลัก (primary key: pk) จากตารางที่เป็น 1 ไปไว้ที่ตารางที่เป็น M ซึ่งจะกลายเป็นคีย์นอก (foreign key : fk) ของตารางที่เป็น M นั่นเอง  ดังรูปต่อไปนี้

8. การแปลง ER ที่มีความสัมพันธ์แบบ 1:M (cont.)                                                             

9. การแปลง ER ที่มีความสัมพันธ์แบบ M:N                                                              ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นภาพ ER Diagram ทีมีความสัมพันธ์ระหว่างเอนติตี้นักศึกษากับเอนติตี้วิชาเป็นแบบ M: N

9. การแปลง ER ที่มีความสัมพันธ์แบบ M:N (cont.)                                                              ในการแปลง ER Diagram ที่มีความสัมพันธ์แบบ M:N เมื่อแปลงเป็นตารางแล้วจะเกิดตารางเพิ่มขึ้นมาอีก 1 ตาราง ดังรูปต่อไปนี้

End of This Section