หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Advertisements

เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
การดุลสมการรีดอกซ์ Al(s) + CuCl2 (aq) AlCl3(aq) + Cu(s)
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เศษส่วนและการเปรียบเทียบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและการนำไปใช้
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
บทที่ 5 การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
ค คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม การแทนกราฟ.
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ครูปพิชญา คนยืน. ทักษะ กระบวนการ ทาง คณิตศาสตร์ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 8.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
RESONANCE CIRCUITS - IMPEDANCE REVIEW
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
ตัวผกผันการคูณของเมทริกซ์
การออกแบบออโตมาตาจำกัดเชิงกำหนด ( DFA )
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
การทดลองในวิชาฟิสิกส์
ข้อ (1) ข้อ (2) ข้อ (3)
MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 6 ภาษา C หลักการของโปรแกรม ชนิดของตัวแปร การดำเนินการ คำสั่งการรับค่าตัวแปร และการแสดงผล.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
การออกแบบโครงสร้างข้อมูล การออกแบบโครงสร้างข้อมูล หมายถึง กรณีสร้างตารางใหม่ด้วย ออกแบบตาราง (Table Design) เพื่อต้องการกำหนด โครงสร้างด้วยตนเอง โดยมีขั้นตอนการ.
ก า ร บ ก ว.
สมบัติของเลขยกกำลัง จัดทำโดย นางเพ็ญประภา รัตนะเดชะ.
4) จำนวนคู่สองจำนวนที่เรียงติดกัน เมื่อนำ 6 มาลบออกจากจำนวนที่มากกว่าแล้ว คูณด้วย 3 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับเมื่อนำ 4 มาบวกกับจำนวนที่น้อยกว่าแล้วคูณด้วย 7.
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
Number system (Review)
การวัด และเลขนัยสำคัญ
อนุกรมอนันต์และการลู่เข้า
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
บทที่ 8 เงื่อนไขตัดสินใจ
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
ค่าคงที่สมดุลกับสมการเคมี
2. ประโยคเงื่อนไข ข้อความที่ประกอบด้วย 2 ข้อความที่เชื่อมต่อกันด้วย ถ้า... แล้ว... เรียกข้อความในลักษณะเช่นนี้ว่า ประโยคเงื่อนไข - เรียกข้อความที่ตามหลัง.
สมการพหุนาม ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
คณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา
บทที่ 5 : ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ผู้สอน ครูวัชระ วงษ์ดี
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
High-Order Systems.
บทที่ 5 : ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
OPERATOR ภาษาปาสคาล (Pascal)
การเติบโตของฟังก์ชัน (Growth of Functions)
เศษส่วนและทศนิยม.
การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
ความหมายและสมบัติของลอการิทึม
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
พื้นฐานการมองแบบภาพ 2D 3D
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง คณิตศาสตร์ (ค32101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง เรื่อง การเขียนทศนิยมให้อยู่ในรูปเศษส่วน สอนโดย ครูชนิดา ดวงแข

ตัวอย่าง . . 0.08 วิธีทำ ให้ N = 0. 08 ดังนั้น N = 0.080808… (1) . . ดังนั้น N = 0.080808… (1) คูณสมการ (1) ด้วย 100 จะได้ 100N = 8.080808… (2) สมการ (2) ลบด้วยสมการ (1)

จะได้ 100N - N = (8.080808…) - (0.080808...) 99N = 8 N = นั่นคือ 0.08 นั่นคือ 0.08 . . = 99 8 ตอบ 99 8

ตัวอย่าง 0.08 . . วิธีทำ 0.08 . . 99 8 = ตอบ 99 8

ตัวอย่าง . 13.93 วิธีทำ ให้ N = 13.93 ดังนั้น N = 13.9333… (1) คูณสมการ (1) ด้วย 100 จะได้ 100 N = 1393.333… (2) คูณสมการ (1) ด้วย 10 จะได้ 10 N = 139.333… (3)

สมการ (2) ลบด้วยสมการ (3) จะได้ 100N - 10N = (1393.333…) - (139.333...) 90 N = 1393 - 139 = 15 209 N = 90 1254 นั่นคือ 13.93 . = 13 15 14 ตอบ 13 15 14

1393 - 139 90 1254 90 ตัวอย่าง 13.93 . วิธีทำ 13.93 . = = = 13 = ตอบ วิธีทำ 13.93 . 90 1393 - 139 = = 90 1254 = 13 15 14 = 15 209 ตอบ 13 15 14

ถ้ามีตัวเลขซ้ำ 1 ตัว เมื่อเขียนเป็น เศษส่วนจะมีตัวส่วนเป็น 9 และ ข้อสังเกต 1 ถ้ามีตัวเลขซ้ำ 1 ตัว เมื่อเขียนเป็น เศษส่วนจะมีตัวส่วนเป็น 9 และ ตัวเศษตัวเลขที่เป็นตัวซ้ำ เช่น 9 7 = 0.7 .

ถ้ามีตัวเลขซ้ำ 2 ตัว เมื่อเขียนเป็น เศษส่วนจะมีตัวส่วนเป็น 99 และ ข้อสังเกต 2 ถ้ามีตัวเลขซ้ำ 2 ตัว เมื่อเขียนเป็น เศษส่วนจะมีตัวส่วนเป็น 99 และ ตัวเศษตัวเลขที่เป็นตัวซ้ำ เช่น 99 13 0.13 = . .

ถ้าทศนิยมดังกล่าวมีบางส่วนซ้ำ และมีบางส่วนไม่ซ้ำ เมื่อเขียนใน ข้อสังเกต 3 ถ้าทศนิยมดังกล่าวมีบางส่วนซ้ำ และมีบางส่วนไม่ซ้ำ เมื่อเขียนใน รูปเศษส่วน

ตัวเศษ เท่ากับ ตัวเลขทั้งหมดที่อยู่หลัง จุดทศนิยม ลบด้วยตัวเลขที่ไม่ซ้ำ ตัวส่วน ประกอบด้วย 9 และ 0 จำนวน 9 เท่ากับจำนวนเลขโดดที่ซ้ำ จำนวน 0 เท่ากับจำนวนเลขโดดที่ไม่ซ้ำ

ลองทำดู

. 1) 0.5 วิธีทำ ให้ N = 0.5 ดังนั้น N = 0.555… (1) . คูณทั้งสองข้างของสมการ (1) ด้วย10 จะได้ 10 N = 10 × 0.555 ... 10 N = 5.555 (2)

ตอบ 9 5 . = 9 5 5 N = 9 สมการ (2) ลบด้วยสมการ (1) จะได้ 10N - N = (5.555…) - (0.555…) 9 N = 5 9 5 N = ดังนั้น นั่นคือ 9 5 . = ตอบ 9 5

1) 0.5 . วิธีทำ 0.5 . 9 5 = ตอบ 9 5

. 2) 0.52 วิธีทำ ให้ N = 0.52 ดังนั้น N = 0.5222… (1) คูณสมการ (1) ด้วย 100 จะได้ 100 N = 52.222… (2) คูณสมการ (1) ด้วย 10 จะได้ 10 N = 5.222… (3)

สมการ (2) ลบด้วยสมการ (3) จะได้ 100N - 10N = (52.222…) - (5.222...) = (52.222…) - (5.222...) 90 N = 47 N = 90 47 นั่นคือ 0.52 . = 90 47 ตอบ 90 47

2) 0.52 . วิธีทำ 0.52 . 90 5 52 - = = 90 47 ตอบ 90 47

. . 3) 0.48 วิธีทำ ให้ N = 0. 48 ดังนั้น N = 0.484848… (1) . . ดังนั้น N = 0.484848… (1) คูณสมการ (1) ด้วย 100 จะได้ 100N = 48.484848… (2) สมการ (2) ลบด้วยสมการ (1)

จะได้ 100N - N = (48.484848…) - (0.484848...) 99N = 48 N = = 33 16 นั่นคือ 0.48 . . หรือ = 33 16 99 48 ตอบ 33 16

3) 0.48 . . วิธีทำ 0.48 . . 99 48 = = 33 16 ตอบ 33 16

. . 4) 0.236 วิธีทำ ให้ N = 0.236 ดังนั้น N = 0.2363636… (1) . . ดังนั้น N = 0.2363636… (1) คูณสมการ (1) ด้วย 1,000 จะได้ 1,000 N = 236.363636… (2) คูณสมการ (1) ด้วย 10 จะได้ 10 N = 2.363636… (3)

สมการ (2) ลบด้วยสมการ (3) จะได้ 1,000 N - 10 N = (236.363636…) - (2.363636...) 990 N = 234 = 55 13 N = 990 234 นั่นคือ 0.236 . . = 990 234 หรือ 55 13 ตอบ 55 13

4) 0.236 . . วิธีทำ 0.236 . . 990 2 236 - = = 990 234 = 55 13 ตอบ 55 13

37 = 99 35 35 2+ 2 99 99 จงทำทศนิยมซ้ำให้อยู่ในรูปเศษส่วน 1) 0.37 . . 2) 2.35 . . = 99 35 2 = 99 35 2+

3) 0.63 . 90 6 63 - = = 90 57 = 30 19

4) 0.572 . 900 57 572 - = = 900 515 = 180 103

5) 0.572 . . 990 5 572 - = = 990 567 = 110 63

. 6) 1.34 90 34 - 3 = 1+ 90 31 = 1+ 90 31 = 1

.. 7) 3.534 990 534 - 5 = 3+ 990 529 = 3+ 990 529 = 3